วันเสาร์ที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2550

หวัดดี วันนี้มาเร็วหน่อยนึงอ่ะ นี่พึงจะ 6.00 เองน่ะนี้
อ่า วันนี้ กะเอาความหู้ฝรั่งเศสแฟงอยู่ในรูปอาหารล่ะ อ่า อาจจะต้องน้ำลายใหลบ้างเล็กน้อย55+ หิวล่ะ แล้วไงล่ะ ก้อต้องลองทำกินล่ะ เออ ก้อคัดสรรมาเฉพาะที่ทำง่ายๆล่ะ ใช้เวลาไม่กี่นาทีเองมั้ง ก้อลองทามดู ถ้าว่างๆน่ะ เออ เดวครั้งหน้าเป็นของหวานน่ากินกว่านี้อีก เหนแล้วสยิว เออ ก้อจะมีของกินมาเรื่อยๆอ่ะ ก้อรู้อยู่ว่าถูกใจเพื่อน เพื่อนก้อจัดให้ อือ ตอนนี้ใกล้สอบแล้ว อ่านหนังสือด้วยน้า ไว้เจอกันจ๊ำ

Ingrédients :6 oeufs 1/2 litre d'eau baguette beurre


Recette :On peut les cuire de plusieurs façons : 1- Plongez-les dans de l'eau bouillante pendant 2 à 3 minutes. 2- Mettez-les dans une casserole d'eau froide et attendez l'ébullition puis sortez les oeufs et dégustez avec des tartines de baguette beurrée


Conseils :Les oeufs destinés à être traités à la coque doivent être d'une fraîcheur irréprochable.

Ingrédients :800g de chocolat de couverture à 70% de cacao pour un œuf de 20 cm ou 500g de chocolat au lait à 31% de cacao pour un œuf de 15cm 3 Cs d’huile

Recette :Cassez le chocolat en morceaux dans une terrine. Préparez un bain-marie à environ 80°C, retirez-le du feu et plongez-y la terrine. Laissez fondre le chocolat en remuant de temps en temps et vérifier la température Avec un thermomètre de cuisson : elle doit être à 55°C pour le chocolat noir, à 50°C pour le chocolat au lait et 45°C pour le chocolat blanc. Rendez le chocolat brillant en versant 3 Cs d’huile. Tempérez le chocolat fondu en versant les ¾ sur un marbre ou une surface froide et sèche. Travaillez-le à la spatule jusqu’à ce qu’il revienne à 29°C. Remettez-le dans le reste de chocolat chaud et mélangez les deux masses en laissant la spatule collée sur le fond pour éviter la formation de bulles d’air. La température doit être de 30/33°C pour le chocolat noir et de 30/31°C pour le chocolat au lait et blanc. Maintenez ces températures grâce au thermomètre. Versez une bonne quantité de chocolat dans les demi-moules. Inclinez-les en tous sens pour les recouvrir d’une couche régulière. Retournez les moules pour faire couler l’excédent de chocolat, puis nettoyez les bords avec un couteau et posez-les sur une grille, toujours retournés. Quand le chocolat est sec, mettez les moules au frais pendant 15 minutes. Coulez ensuite une deuxième couche, voire une troisième de chocolat pour que l’épaisseur de la paroi soit de 3 à 4 mm. Remettez au frais entre chaque couche et placez le tout 1h au frais. A la fin d’une heure, faites à peine tiédir une plaque à pâtisserie plane dans le four préchauffé à 100°C (th : 2-3). Démoulez les moitiés d’œufs (tapotez les moules en métal sur le plan de travail, écartez délicatement les bords des moules en plastique). Posez-les, l’un après l’autre, à plat sur une plaque, juste le temps de ramollir légèrement le bord. Assemblez les demi-coques en les ajustant. Appuyez un peu jusqu’à ce qu’elles soient soudées. Lissez la soudure avec un couteau. Décorez avec un ruban de couleur. Emballez l’œuf décoré dans une grande feuille de papier d’aluminium froissé puis conservez-le jusqu’au matin de Pâques dans un endroit frais, sombre et bien sec.


Conseils :Moules en vente dans les boutiques Culinarion

Ingrédients :4 œufs 1 une noix de beurre 1 truffe blanche sel Recette :Mettez à dorer le beurre dans une poêle. ENlevez la poêle du feu, cassez 2 œufs, salez et étalez des lamelles fines de truffe sur les oeufs. Mettez encore un instant sur le feu et servez tout de suite.









*******เคยพูดโทรศัพท์ภาษาฝรั่งเศสกันมั่งป่ะ ไม่เคย พูดสะ เราเคยลองด้วยแหละ เค้าตกใจ วางสายไปเลย เราเลยงง ว่าใครโทรมาหวา*******
Demander quelqu'un au téléphone : [ต้องการพูดโทรศัพท์กับบุคคลใดบุคคลหนึ่ง]
- Allô, Florence ? [อัลโล่, ฟลอร๊องใช่ไหม]- Allô, je suis bien chez Monsieur Kieffer ? [อัลโล่, ที่นั่นใช่บ้านคุณคีฟแฟร์ใช่ไหมครับ]- Bonjour, je voudrais parler à Monsieur Kieffer, s'il vous plaît. [สวัสดีครับ, ผมอยากพูดกับคุณคีฟแฟรหน่อยครับ]- Bonjour, est-ce que je pourrais parler à Monsieur Lescop, s'il vous plaît ? [สวัสดีครับ, ขอพูดกับคุณคีฟแฟรหน่อยได้ไหมครับ]- Est-ce que Ronald est là, s'il vous plaît ? [โรนัลอยู่ไหมครับ]- Bonjour madame. C'est kriangkraï. Je voudrais parler à Alexandre, s'il vous plaît. [สวัสดีครับ, ผม...เกรียงไกร ผมอยากพูดกับ อะเล็กซอง(เดรอะ) หน่อยครับ]- Bonjour Jean, Kriangkraï à l'appareil ! Tu vas bien ? [สวัสดี ชอง, นี่เกรียงไกรพูด เธอสบายดีหรือเปล่า]
Répondre au téléphone : [การรับโทรศัพท์]
- Allô, oui ? [อัลโล่, ครับ]- Allô, Anne à l'appareil. [อัลโล่, นี่อานพูด]- Lui-même (Elle-même) à l'appareil. [ผมเองครับ (ดิฉันเองค่ะ)]- Ah non, je suis désolé(e), c'est une erreur ! [ขอโทษครับ คุณโทรผิดเบอร์]- Ah non, je suis désolé(e), vous vous êtes trompé(e) ! [ขอโทษครับ คุณโทรผิดเบอร์]- Qui est à l'appareil ? [ใครพูดครับ]- C'est de la part de qui ? [ใครพูดครับ / จากใครครับ]- Qui demandez-vous ? [ต้องการพูดกับใครครับ]- Un instant, s'il vous plaît ! [สักครู่ครับ]- Un moment, s'il vous plaît ! [สักครู่ครับ]- Restez en ligne, s'il vous plaît ! [กรุณาถือสายรอสักครู่ครับ]- Ne quittez pas. Je vous le (la) passe. [กรุณาอย่าวางสาย ผมจะส่งต่อสายของเขา(ของหล่อน)ให้คุณ]- Le directeur est en autre ligne. Voulez-vous patienter, s'il vous plaît ? [ผู้อำนวยการกำลังอยู่อีกสายหนึ่ง กรุณาถือสายรอสักครู่ครับ]- Veuillez patienter un instant, s'il vous plaît. [กรุณาถือสายรอสักครู่ครับ]- Il n'est pas là ! Voulez-vous rappeler plus tard ? [เขาไม่อยู่ กรุณาโทรกลับมาใหม่ภายหลัง]- Il n'est pas là ! Voulez-vous laisser un message ? [เขาไม่อยู่ คุณจะฝากข้อความอะไรไว้ไหมครับ]
งั้นแค่นี้ก่องน้า ไว้คราวหน้าเจอกันไหม สวัสดีจ๊ะ*****************





















วันศุกร์ที่ 29 มิถุนายน พ.ศ. 2550






เออ ประกาศผลแล้วล่ะ ตกลงว่าเราได้ไปอเมริกาแว้ว ไปสิงหาปีหน้า คงคิดถึงแม่ เพื่อน และน้องๆทุกๆคน แต่ก้อเอาเถอะ บอกตามตรงว่าเราอยากไปมากถึงมากที่สุด เป็นไรที่ใฝ่ฝันมากมาย เราอยากเรียนรู้ว่าสังคมแห่งการเรียนรู้จิงๆ เค้าเป็นอย่างไร เออ คงคิดถึงแย่เลยล่ะ อืม ก้อกลับมาเพื่อนทุกคนก้อเป็นรุ่นพี่หมดแล้วล่ะน้า ส่วนเราก้อเด็กโข่งมากๆ เพราะเรากลับมาก้อต้องซ้ำ เราต้องกลับมาเรียนฝรั่งเศสอ่ะ ไม่งั้นเราไม่ไหวแน่



อือ ก้อวันนี้ เปิดตลาดนัดเด็กน้อยล่ะ สนุกดีจัง งั้นวันนี้ เรามาเรียนรู้เกี่ยวกับคำศัพท์ตลาดกันเนอะ






Dans un magasin, au marché.. : [ในร้านค้า, ที่ตลาด...]
- C'est combien, les oranges ? [ส้มราคาเท่าไหร่]=> C'est 40 Baht le kilo. [กิโลละ 40 บาท]- C'est combien, ça ? [นี่ราคาเท่าไหร่]=> C'est 25 Baht la pièce. [ชิ้นละ 25 บาท] - Ça coûte combien ? / Combien ça coûte ? [นี่ราคาเท่าไหร่] => Ça coûte 250 Baht la bouteille. [ราคาขวดละ 250 บาท]=> Ça coûte cher. (très cher / trop cher) [ราคาแพง] (แพงมาก / แพงมากเกินไป)=> Ça ne coûte pas cher. [ราคาไม่แพง]=> Ça ne coûte rien. [ราคาไม่แพง]=> C'est bon marché. (très bon marché). [ราคาถูก] (ราคาถูกมาก) => C'est hors de prix. [แพงหูฉี่ : แพงมาก] => Ça coûte les yeux de la tête ! [แพงหูฉี่ : แพงมาก] => C'est pas donné. [ราคาแพง] - Combien coûte un PC portable en Thaïlande ? [ในเมืองไทย คอมพิวเตอร์โนตบุค ราคาตัวละเท่าไหร่่] - Vous pourriez me dire le prix de cette robe en soie ? [บอกดิฉันหน่อยได้ไหมคะ ว่ากระโปรงผ้าไหมตัวนี้ราคาเท่าไหร่่] - Je voudrais savoir le prix de cette robe en soie ? [ดิฉันอยากรู้ราคากระโปรงผ้าไหมตัวนี้หน่อยคะ่่] - Ça fait combien ? / - Ça fait combien en tout ? [รวมทั้งหมดเท่าไหร่่่] => Ça vous fait (fera) 525 Baht. [รวมทั้งหมด 525 บาท]
Exemple d'une conversation entre un commerçant et une cliente : [ตัวอย่างบทสนทนา ระหว่างพ่อค้า กับ ลูกค้า่่่]
• Commerçant : Voilà les cerises. Et avec ça ? [นี่ครับ เชอรี่ แล้วอย่างอี่นอีกด้วยไหม]• Cliente : C'est tout. Ça fait combien ? [พอแล้ว รวมเป็นเท่าไหร่คะ]• Commerçant : Alors, ça vous fait 14 euros 25. [งั้นก็ 14 ยูโร 25 ครับ]• Cliente : Voilà 20 euros. [นี่ 20 ยูโร คะ]• Commerçant : Et voilà 5 euro 75. Merci Madame. [และนี่เงินทอน 5 ยูโร 75 ขอบคุณครับ]
Dans un café après avoir consommé : [ในร้านกาแฟ, ร้านอาหาร, หลังจากดื่ม หรือ รับประทานเสร็จแล้ว]
- Je vous dois combien ? [ผมเป็นหนี้คุณเท่าไหร่ = เท่าไหร่ครับ] => 1 euro 50. [1 ยูโร 50 เซ็นต์] - Ça fait combien ? / - Ça fait combien en tout ? [รวมทั้งหมดเท่าไหร่่่] - Je voudrais régler. [ผมจะจ่ายเงินครับ]
Dans un restaurant, après avoir mangé : [ในร้านอาหาร, หลังจากรับประทานเสร็จแล้ว]
- L'addition s'il vous plaît. [คิดเงินด้วยครับ] - Je voudrais régler. [ผมจะจ่ายเงินครับ]
Dans un hôtel, avant de le quitter.. : [ในโรงแรม ก่อนจะออก..]
- La note s'il vous plaît. [คิดเงินด้วยครับ (ผมจะเช็กเ๊อาท์)] - Je voudrais régler. [ผมจะจ่ายเงินครับ



ต้องขอขอบคุณเวปโมเดิ้ลด้วยค่ะ ที่แบ่งปันข้อมูลนี้น่ะค่ะ ใครที่อยากทำแบบฝึกหัด อย่าลืมเข้าเวป โมเดิ้ลฝรั่งเศส 3 น่ะ







attentat (n.m.) : การก่อวินาศกรรม / attentat suicide = การก่อวินาศกรรมแบบระเบิดพลีชีพ / attentat à la voiture piégée = การก่อวินาศกรรมโดยการวางระเบิดรถยนต์
2
affrontement (n.m.) : การเผชิญหน้า
3
autorité (n.f.) : เจ้าหน้าที่, ผู้มีอำนาจในการดำเนินการ
4
appliquer (v.) : นำมาใช้, นำมาประยุกต์ใช้
B
1
biocarburant (n.m.) : น้ำมันเชื้อเพลิงที่มีส่วนผสมของน้ำมันที่สกัดจากพืช
2
les bleus (n.m.) : ทีมชาติ (ฟุตบอล, รักบี้...) ฝรั่งเศส
3
bouc émissaire (n.m.) : แพะรับบาป
C
1
coup d'État (n.m.) : การก่อรัฐประหาร
2
compromis (n.m.) : การประนีประนอมกัน
3
couvre-feu (n.m.) : เคอร์ฟิว (= มาตรการรักษาความปลอดภัยในยามฉุกเฉิน โดยการห้ามออกจากบ้านในยามวิกาล)
4
cessez-le-feu (n.m.) : การหยุดยิง, การหยุดสู้รบอย่างเป็นทางการ
5
correspondant (n.m.) : ผู้สื่อข่าว, ผู้ที่เราติดต่อด้วย เช่น pen friend / correspondant permanant = ผู้สื่อข่าวที่ประจำอยู่ตามประเทศต่างๆ
6
compter + inf. (v.) : ตั้งใจที่จะ, มีโครงการที่จะ
7
prendre conscience (n.f.) : มีจิตสำนึก
8
cour constitutionnelle (n.f.) : ศาลรัฐธรรมนูญ
9
cible (n.f.) : เป้า, ที่หมาย / cibler (v.) = พุ่งเป้าไปที่, มุ่งไปที่
10
carnage (n.m.) : การฆ่าฟันอย่างทารุณ, การนองเลือด
D
1
diplomate (n.) : นักการทูต]
2
dirigeant (n.m.) : ผู้นำประเทศ
3
dénoncer (v.) : ประณาม, กล่าวโทษ
4
déarmement (n.m.) : การปลดอาวุธ, การวางอาวุธ
5
décret (n.m.) : คำประกาศ, คำสั่ง
6
délégation (n.f.) : คณะผู้แทน (เจรจา...)
7
déclencher (v.) : ทำให้คลาย, ลั่นไก, เริ่ม(รุกรบ)
8
déroulement (n.m.) : การดำเนินไปของ(เหตุการณ์ ...) / se dérouler = (เหตุการณ์) ดำเนินไป, คลี่คลาย
E
1
effet de serre (n.m.) : ปรากฎการณ์เรือนกระจก
2
envoyé spécial (n.m.) : นักข่าวที่เดินทางไปทำข่าวสำคัญในสถานที่ต่างๆ
3
écologie (n.f.) : (การอนุรักษ์) สิ่งแวดล้อม, ธรรมชาติ
4
échec (n.m.) : ความล้มเหลว
5
état (n.m.) : 1. รัฐ, ประเทศ 2. สภาพ(ของคน หรือสิ่งต่างๆ) / faire état de = คิดเป็นจำนวน, มีจำนวน ...
6
exil (n.m.) : การเนรเทศ / partir en exil = เดินทางไปลี้ภัย / exilé (n.m.) = ผู้ที่ถูกเนรเทศ
F
1
financer (v.) : ให้เงินสนับสนุน , สนับสนุนทางการเงิน
G
1
(observer) une grève de faim (n.f.) : การอดอาหารประท้วง
2
gâcher (v.) : ทำให้เสียของ, ทำให้ยุ่งเหยิง
3
garde à vue (n.f.) : การกักตัวไว้สอบสอน
H
1
heurt (n.m.) : การประทะกัน, การชนกัน, การกระแทกกระทั้นกัน
I
1
intervention (n.f.) : การแทรกแซง (ทางทหาร, ทางการเมือง, ทางการค้า ...)
2
intérimaire (adj.) : ระหว่างกาล, ชั่วคราว, ที่มาแทนชั่วคราว, ที่รักษาการ / un gouvernement intérimaire = รัฐบาลรักษาการ / intérim (n.m.) : ระหว่างกาล, การแทน
J
1

L
1
lancer un appel (v.) : เรียกร้อง, ร้องขอ
2
laïc, laïque (adj.) : ที่ไม่ขึ้นอยู่กับศาสนา, ที่แยกออกจากศาสนา / laïcité (n.f.) : การไม่ขึ้นอยู่กับศาสนา
M
1
mandat (n.m.) : วาระที่อยู่ในตำแหน่ง / mandat d'arrêt = หมายจับ
2
mesure (n.f.) : มาตรการ
3
milicien (n.m.) : ทหารอาสาสมัคร
4
meeting (n.m.) : การประชุม
5
mobilisation (n.f.) : การชุมนุมเคลื่อนไหวเรียกร้อง หรือรณรงค์ / (se) mobiliser (v.) = รวมตัวเคลื่อนไหว
N
1
négocier (v.) : เจรจา - nécociation (n.f.) : การเจรจา
2
norme (n.f.) : หลักที่ถือเป็นกฎ, มาตรฐาน
O
1
ordre (n.m.) : ความเป็นระเบียบเรียบร้อย, ลำัดับ, คำสั่ง / rappeler qqn à l'ordre = เตือนให้อยู่ในความสงบ
2
otage (n.m.) : ตัวประกัน
P
1
pourparlers (n.m.pl.) : การเจรจา (ที่มุ่งหาข้อตกลงกัน)
2
porte-parole (n.m.) : โฆษก (ของรัฐบาล...)
3
préoccupation (n.f.) : เรื่องกังวลใจ, ความวิตกกังวล, สิ่งที่ทำให้ต้องครุ่นคิด
4
peine (n.f.) : การลงโทษ - peine de mort = การลงโทษประหารชีวิต - peine de prison = การลงโทษจำคุก
5
partisan (n.m.) : ผู้สนับสนุน, พรรคพวก
6
mettre qqch en place (n.f.) : จัดสร้าง, ทำให้มีขึ้น
7
polémique (adj. et n.f.) : เกี่ยวกับการโต้แย้ง, การโต้แย้ง, การโต้เถียง
8
processus (n.m.) : การดำเนินการ, กระบวนการ - processus de paix = กระบวนการสันติภาพ
9
pénaliser (v.) : ลงโทษ / pénalité (n.f.) : โทษที่ต้องรับ, เบี้ยปรับ, ค่าปรับ / pénal (adj.) : ที่ลงโทษ, ที่เกี่ยวกับการลงโทษ - code pénal, droit pénal = กฎหมายอาญา
10
politique (adj. et n.f.) : 1. (เกี่ยวกับ) การเมือง 2. นโยบาย
Q
1
quinquennat (n.m.) : วาระการอยู่ในตำแหน่งเป็นเวลา 5 ปี
R
1
ravisseur (n.m.) : ผู้ลักพาตัว
2
à plusieurs reprises (loc. adverbiale) = plusieurs fois : หลายครั้ง
3
renverser (v.) : โค่นล้ม
4
rebelle (n.) : ขบถ / rébellion (n.f.) = การขบถ
5
retrancher (v.) : ตัดออก, ตัดทอน, ตัดทอนรายจ่าย
6
relâcher (v.) : ปล่อยตัวไป, คลายออก
7
régime (n.m.) = ระบอบการปกครอง, ระบอบ, การจำกัดอาหาร
S
1
stratégie (n.f.) : ยุทธวิธี
2
soutien (n.m.) : การสนับสนุน
3
sommet (n.m.) : การประชุมสุดยอด (การประชุมของผู้นำสูงสุด)
4
sans domicile fixe (SDF) (n.m.) : ผู้มีที่อยู่ไม่เป็นหลักแหล่ง / sans abri = ผู้ไร้ที่อยู่อาศัย
5
sondage (n.m.) : การหยั่งเสียง, การสำรวจความคิดเห็น
6
spéculer (v.) : เก็งกำไร / spéculation (n.f.) : การเก็งกำไร / spéculateur (n.m.) : นักเก็งกำไร
7
suspendre (v.) : งดไว้, ผัดไปก่อน, พักไว้ก่อน, หน่วงเหนี่ยวไว้ก่อน / suspension (n.f.) = การหยุดไว้ชั่วคราว
T
1
tentative (n.f.) : ความพยายาม
2
terme (n.m.) : การสิ้นสุดลง, การจบ - au terme de = เมื่อสิ้นสุด... - mener qqch à son terme = จบสิ้นลง
3
troupe (n.f.) : กองกำลัง, กองทหาร
4
transition (n.f.) : การเปลี่ยนหรือถ่ายโอน (อำนาจ...)
5
tribunal (n.m.) : ศาลยุติธรรม
6
taux (n.m.) : อัตรา / taux de change = อัตราแลกเปลี่ยน / taux d'intérêt = อัตราดอกเบี้ย / taux de naissance = อัตราการเกิด ...
7
tir (n.m.) : การยิง / tirer (v.) = ยิง, ดึง / tireur = ผู้ยิง, คนที่ยิง
U
1
ultimatum (n.m.) [อ่าน : อืลติมาเติม] : คำขาด, เส้นตาย
V
1
viser (v.) : จ้องยิง, เล็ง, มุ่งหมาย, กล่าวพาดพิงถึง
2
veto (n.m.) [อ่าน : เวโต] : อำนาจยับยั้ง, คัดค้าน / mettre son veto à ... = คัดค้าน / le droit de veto = สิทธิยับยั้ง









Ingrédients :
1 Rouleau de pâte à tarte feuilletée
400g de
2 Oeufs
80g de sucre en poudre




Préparation :
Laver les cesires à l'eau. Les couper en deux et retirer les noyaux.Etaler la pâte dans le plat à tarte.Placer les cerises sur la pâte.Préparer une sauce légère dans un bol avec les oeufs et le sucre. Mixer soigneusement le tout et verser la sauce sur la tarte autour et sur les cerises.




Cuisson :
Faire cuire dans un four chaud (niveau 6, 200°) pendant 25 minutes. Le Conseil du Chef :
Placer les cerises sur la tarte avec la peau du coté pâte. C'est peut-être moins beau, mais cela empêche le jus des cerises de couler, voire de détremper la pâte !




Accompagnement :
Jus de fruits rouges frais.


*************-----------าก่อน------------------**********************

วันพฤหัสบดีที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2550

เคยคิดว่าโตแล้ว โตพอจะก้าวไป ครูพูดคำไหนก้อไม่อยากฟังทั้งนั้น เคยคิดว่าเกร่งพอ คงไม่ต้องง้อใครๆ เก่งแล้วรู้ไหมไม่ต้องสอนกัน จนวันฉันหกล้ม วันที่สิ้นหนทาง วันที่ความฝันทุกอย่างไม่เป็นเหมือนใจ วันหนึ่งฉันผิดหวัง วันที่ฉันโดนรังแก วันนี้ฉันแพ้และไม่เหลือใคร อยากเดินกลับไปซบลงที่ตัก คนที่รักฉันหมดใจ หนึ่งคนที่วันนั้นฉันหลงลืม ในวันนี้คิดถึงยิ่งกว่าใคร พึงจะรู้ว่าเติบโตสักเพียงไหน สุดท้ายก้อเป็นลูกศิษย์คนเก่า วันที่เป็นเด็กขี้แย คิดถึงครูเวลาที่ปวดร้าว ครูจ๋า ปลอบหนูได้หรือเปล่า วันนี้หนูเศร้าเหลือเกิน

มอบแด่ทุกคนที่เคยเป็นครูทั้งในอดีต ปัจจุบัน และอนาคต
ถ้าไม่ได้ครูในวันนั้น หนูคงจะมาไม่ถึงจุดนี้
ถ้าไม่ได้ครูที่แสนดี ปานนี้หนูคงเป็นแค่เด็กไม่รู้จักโต

คิดถึงครูจัง ถ้าไม่ได้ครูนิด ตอนอยู่ป.2 พาหนูไปเล่านิทาน ปานนี้หนูคงไม่ได้พูดกับนายก

เฮ้อ เออ เข้าเรื่อง
Un professeur est une personne érudite, ayant une compétence pédagogique généralement acquise par l'expérience et/ou au cours d'une formation. L'enseignant est chargé de transmettre des connaissances ou des méthodes de raisonnement à autrui dans une matière, domaine ou discipline scolaire ou bien dans le cadre d'une formation plus générale à un ou plusieurs élèves, le plus souvent dans le cadre d'une institution (école, université...), voire de cours particuliers. Dans ce dernier cas, on parle aussi de précepteur, lorsque l'organisation de l'ensemble de la scolarité d'un élève est prise en charge par un enseignant employé à titre privé.
Écoles primaire et secondaire [modifier]
l'école primaire :
en France : les enseignants sont des professeurs des écoles (une fois admis au concours de recrutement de professeur des écoles), appelés instituteurs avant 1990.
l'enseignement secondaire :
en France : (collège et lycée) où les professeurs sont des professeurs certifiés (lorsqu'ils ont été admis au concours du CAPES ou du CAPET) ou agrégés (lorsqu'ils ont été admis au concours de l'agrégation), ou des professeurs de lycée professionnel (lorsqu'ils ont été admis au concours du CAPLP).
Il existe également les professeurs titulaires sur zone de remplacement (TZR), qui ont pour mission de remplacer les professeurs absents et/ou en congés. Il sont titulaires d'une zone dans laquelle ils remplaceront des titulaires n'exerçant par exemple qu'à temps partiel.
Il existe encore les professeurs vacataires qui ont, quant à eux, un statut précaire. Les vacataires ont des primes de compensation, mais ne sont payés qu'avec un mois de retard minimum (retard qui peut aller jusqu'à 6 mois). Ils ne peuvent effectuer que 200 heures au total durant une même année scolaire.
Quant aux professeurs contractuels, ils sont généralement recrutés le temps d'une année scolaire, mais ils possèdent des droits complémentaires à ceux des vacataires, comme les congés payés, et la comptabilisation de leurs heures d'enseignement, qui, mises bout à bout leur permettent de passer les concours internes de l'enseignement.

Enseignement supérieur et recherche [modifier]
en Belgique :
Dans les Universités :
Professeur (ordinaire, extraordinaire, visiteur, associé, honoraire, émérite), chargé de cours, maître de conférence, chef de travaux, assistant.
Recteur (de l'université), doyen (de la falculté).
Dans les Hautes Ecoles :
Professeur, chargé de cours, chef de travaux, chef de bureau d'études, maître assistant, maître (principal) de formation pratique.
Directeur-Président (de la haute école), directeur (du département/catégorie).
au Canada : Les titres de professeur universitaire sont intégrés au système universitaire nord-américain. Voir la liste des titres de professeur et celles des grades universitaires au Canada. Ces dénominations sont donc comparables dans les autres pays anglophones.
en France (université, classes préparatoires aux grandes écoles, grandes écoles, BTS)… :
pour les grandes écoles, les universités et les IUT, qui sont des composantes des universités, le professeur est titulaire ou non d'un doctorat ou d'une HDR. Selon son statut, il peut être titulaire et docteur (professeur des universités, maître de conférences, etc.) ou non titulaire et non nécessairement docteur, mais préparant un doctorat (ATER, moniteur de l'enseignement supérieur, vacataire).Il peut être aussi professeur certifié (PRCE) ou agrégé de l'enseignement secondaire (PRAG).
pour les classes préparatoires, le professeur doit être titulaire de l'agrégation,
pour les BTS, le professeur, certifié ou agrégé, enseigne parfois aussi dans le secondaire

วันอาทิตย์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2550


ขณะนี้เวลา 23.06 นาที ติ้งต่อง หวัดดีทุกคน มาดมัวแซวทั้งหลายด้วย เออ นี้ไปเจอบทความฝรั่งเศสมาล่ะ เลยเอามาฟาก แล้วก้อพอดี เมื่อวานดูคอนเสริ์ต เอเอฟ มีคนหนึ่งร้องเพลงของมู่หลาน สร้อยชอบมาเลย สร้อยฟึ่งจะรู้อ่ะ ว่ามันชื่อเพลง reflection ล่ะ ไฟเราะเพราะพริ้งมากเลย อ่า เออ ใกล้สอบและ เดวโม้แค่นี้ ก่อนแล้วกันน้า ไปอ่านหนัวสือ หรือหนัวสืออ่านสร้อยไม่รุ้ 55+ งำ งำ งำ งำ งำ งั้นแค่นี้ ก่อนแล้วกัน กะจะเอาสถานที่ฝรั่งเศสลงเพิ่ม เดวต้องหาเวปก่อน ดันปลาทองสะนี้ เฮ้อ ไปก่อนเน้อ บายๆๆ


Une fleur du bien
A la lectrice solitaire au spleen éphémère, à la princesse aux pieds nus à l'esprit libre et ouvert, avec les sentiments de la plus profonde humilité, je dédie ces quelques vers. L'amour n'est pas juste un mot du dictionnaire, il s'exprime à l'endroit comme à l'envers !


Un poème n'est pas un article ! Alors le voici en ces temps de disette romantique voici la fleur du bien que l'on se devrait d'offrir à celle qui touche notre coeur sauvage et qui sache le dompter ! Le romantisme a contribué à forger la sensibilité qui est la nôtre. Charles Baudelaire et Arthur Rimbaud, eux, ont inventé la poésie moderne. Quant à Paul Verlaine, à Mallarmé et aux symbolistes, ils ont créé un art de l'impalpable qui les lie à la fois aux Impressionnistes et à des musiciens qui, comme Debussy, ont cherché la beauté dans ce qui fuit et non dans ce qui dure. Charles Baudelaire a été le premier à se donner comme tâche de capter ce qu'il y a "de poétique dans l'historique" et "d'éternel dans le transitoire." Charles Baudelaire est aussi celui qui a su extraire la beauté du mal, c'est dire qu'à la suite des Romantiques, il a ouvert la voie d'une esthétique de la souffrance. Le poète a coulé son expérience chaotique du monde dans des vers idéaux d'harmonie et dans des images où les sentiments les plus noirs deviennent des paysages désolés certes, mais également magnifiques. (Il faut laisser l'esprit s'ouvrir à la poésie ! Car il n'y a point de honte d'être un homme poète because la poésie n'a pas de sexe, elle n'a pas à rester dans des préjugés abscons et incongrus ! Il se peut que je sois montré du doigt par les puristes de Baudelaire but qu'importe le manque de romantisme de certains, le tout est d'aiguiser l'esprit et de distraire avec finesse.)



La fonction et l'écriture poétiqueEn linguistique, la poésie est décrite comme un énoncé centré sur la forme du message donc où la fonction poétique est prédominante. Dans la prose l'important est le "signifié", elle a un but " extérieur " (la transmission d'informations) et se définit comme une marche en avant que peut symboliser une flèche et que révèle la racine latine du mot qui signifie " avancer ". En revanche, pour la poésie, l'importance est orientée vers la " forme ", vers le signifiant, dans une démarche " réflexive ", symbolisée par le " vers " qui montre une progression dans la reprise avec le principe du retour en arrière (le vers se " renverse ") que l'on peut représenter par une spirale. La poésie ne se définit donc pas par des thèmes particuliers mais par le soin majeur apporté au signifiant pour qu'il démultiplie le signifié : l'enrichissement du matériau linguistique prend en effet en compte autant le travail sur les aspects formels que le poids des mots, allant bien au delà du sens courant du terme " poésie " qui renvoie simplement à la beauté harmonieuse associée à une certaine sentimentalité. L'expression poétique offre cependant au cours de l'Histoire des orientations variées selon la dominante retenue par le poète. L'invention poétique produite par le jaillissement de l'inspiration et la connexion privilégiée du poète avec l'indicible qui le conduit au delà du prosaïque repose également sur la maîtrise technique des formes savantes, et les poètes ne cesseront de débattre de l'importance relative de ces deux composantes. De fait, l'écriture poétique réside dans l'enrichissement du matériau linguistique complet, en prenant en compte à la fois le sens et le son, d'où une mise en page spécifique (le plus souvent), une densité particulière des mots avec des procédés de mise en valeur et d'expressivité, et une prise en compte des rythmes et des sonorités. Musique maestro ! Par une journée de pluie. A toi mon âme et mon cœur, mon tout et ma moitié. Tourne vers moi tes yeux de nuit et d'étoiles ! Pour un de ces regards charmants, baume divin, Des plaisirs plus obscurs je lèverai les voilesEt je t'endormirai dans un rêve sans fin ! Celui qui veut unir dans un accord mystiqueL'ombre avec la chaleur, la nuit avec le jour, Ne chauffera jamais son corps emblématiqueA ce rouge soleil que l'on nomme Amour ! Que nos rideaux fermés nous séparent du monde, Et que notre oisiveté amène le repos ! Je veux m'anéantir dans ta grotte profondeEt trouver sur ton sein la fraîcheur des mots ! Bouillonnent pêle-mêle avec un bruit d'orage. Ombres folles, courez au but de nos désirs ;Jamais nous pourrons assouvir toute notre rage, Et notre liberté naîtra de nos plaisirs. L'humide stérilité de notre jouissanceDésaltère notre soif et adoucie notre peau, Et le vent joyeux de notre concupiscenceFait claquer notre chair ainsi qu'un flamboyant drapeau.


Le vers, la musicalité poétique et le poids des motsLa mise en page du texte poétique est traditionnellement fondée sur le principe du retour et de la progression dans la reprise que figure l'utilisation du vers (régulier ou non), même s'il existe des formes métissées comme le poème en prose ou la prose poétique qui reprennent les caractéristiques du texte poétique (d'où leur dénominations) comme l'emploi des images et la recherche de sonorités ou de rythmes particuliers. Ces vers sont souvent regroupés en strophes et parfois organisés dans des poèmes à forme fixe comme le sonnet ou la ballade. La poésie métrée utilise des vers définis par le nombre de leurs syllabes comme l'alexandrin français, alors que la poésie scandée joue sur la longueur des pieds (et sur leur nombre) comme dans l'hexamètre dactylique grec et latin, ou sur la place des accents comme dans le pentamètre iambique anglais. Les poètes modernes se libèrent peu à peu de ces règles : par exemple les poètes français introduisent dans la deuxième moitié du XIXe siècle le vers libre puis le verset, et en remettant aussi en cause les conventions classiques de la rime qui disparaît largement au XXe siècle. Des essais graphiques plus marginaux ont été tentés par exemple par Mallarmé (" Un coup de dé... "), Apollinaire (Calligrammes) ou Pierre Reverdy, en cherchant à parler à l'oeil et plus seulement à l'oreille, tirant ainsi le poème du côté du tableau. L'origine orale et chantée de la poésie qu'évoquent la lyre d'Apollon ou la flûte d'Orphée marque l'expression poétique qui se préoccupe des rythmes avec le compte des syllabes (vers pairs/ vers impairs - " e muet "...) et le jeu des accents et des pauses (césure - enjambement...). La poésie exploite aussi les sonorités particulièrement avec la rime (retour des mêmes sons à la fin d'au moins deux vers avec pour base la dernière voyelle tonique) et ses combinaisons de genre (rimes masculines ou féminines), de disposition (rimmes suivies, croisées...) et de richesse. Elle utilise aussi les reprises de sons dans un ou plusieurs vers (allitérations et assonances), le jeu du refrain (comme dans la ballade ou le Pont Mirabeau d'Apollinaire) ou la correspondance entre le son et le sens avec les harmonies imitatives (exemple fameux : " Pour qui sont ces serpents... ") ou les rimes sémantiques (exemple : "automne/monotone") Le poète exploite toutes les ressources de la langue en valorisant aussi les mots par leur rareté et leur nombre limité : on parle parfois de " poésie-télégramme " où chaque mot " coûte " comme dans le sonnet et ses 14 vers ou dans la brièveté extrême du haïku japonais de trois vers. L'enrichissement passe aussi par la recherche de sens rares et de néologismes (par exemple " incanter " dans " Les sapins d'Apollinaire "graves magiciens //Incantent le ciel quand il tonne ", ou " aube " associé aux Soleils couchants par Verlaine), par les connotations comme l'Inspiration derrière la figure féminine dans " Les Pas " de Paul Valéry ("Personne pure, ombre divine, / Qu'ils sont doux, tes pas retenus ! ") ou par des réseaux lexicaux tissés dans le poème comme la religiosité dans " Harmonie du soir " de Baudelaire. Le poète dispose d'autres ressources encore comme la place dans le vers ou dans le poème (" trou de verdure " dans le premier vers du Dormeur du val de Rimbaud auquel répond le " trou rouge au côté droit " du derniers vers) ou les correspondances avec le rythme et les sonorités ("L'attelage suait, soufflait, était rendu... " - La Fontaine, Le Coche et la mouche)... Le poète joue également de la mise en valeur des mots par les figures de style comme les figures d'insistance comme l'accumulation, le parallélisme ou l'anaphore (exemple : "Puisque le juste est dans l'abîme, /Puisqu'on donne le sceptre au crime, / Puisque tous les droits sont trahis, / Puisque les plus fiers restent mornes, /Puisqu'on affiche au coin des bornes / Le déshonneur de mon pays... ", Hugo - Les Châtiments, II, 5), les figures d'opposition comme le chiasme ou l'oxymore (" le soleil noir de la Mélancolie " - Nerval), les ruptures de construction comme l'ellipse ou l'anacoluthe (" Exilé sur le sol au milieu des huées, /Ses ailes de géant l'empêchent de marcher ", Baudelaire - L'albatros) et bien sûr les figures de substitution comme la comparaison (dont Eugène Guillevic en est l'un des meilleurs usagers) et la métaphore. L'emploi de l'image est d'ailleurs repéré comme une des marques de l'expression poétique ; un seul exemple emblématique de métaphore filée en rendra compte : " (Ruth se demandait...) Quel Dieu, quel moissonneur de l'éternel été / Avait, en s'en allant, négligemment jeté / Cette faucille d'or dans le champ des étoiles", (Victor Hugo - Booz endormi.) Conclusion : Le terme "poésie" recouvre des aspects très différents puisque celle-ci s'est dégagée d'une forme versifiée facilement identifiable et même du "poème", et il est sans doute plus commode de parler d'"expression poétique". Néanmoins la spécificité du texte poétique demeure à travers sa densité qui exploite à la fois le son et le sens ; il est d'ailleurs difficile de traduire un poème dans une autre langue : faut-il se préoccuper d'abord du sens ou faut-il chercher à inventer des équivalences sonores et rythmiques ? En effet, à travers la Poésie, l'essentiel demeure la prise de conscience du pouvoir des mots et de la beauté de la langue, à commencer par une langue dite et écoutée. Pour l'amateur de poésie, " au commencement est le Verbe " et sa puissance créatrice qui nourrit la mémoire et transforme la nuit en lumière, comme le fait dire Jean-Luc Godard à son héros qui vient lutter contre un monde déshumanisé dirigé par un ordinateur dans "Alphaville ".


*************เพลง reflection : เรื่องมูหลานล่ะ เพราะจิงๆน่ะ*****************
Look at me You may think you see Who I really am But you'll never know meEveryday It's as if I play a partNow I see If I were a mask I can fool the worldBut I cannot fool my heartWho is the girl I seeStaring straight back at me?When will my reflection showWho I am inside?I am nowIn a world where IHave to hide my heartAnd what I believe inBut somehowI will show the world What's inside my heartAnd be loved for who I amWho is the girl I see Staring Straight back at me?Why is my reflectionSomeone I don't know?Must I pretend that I'mSomeone else for all time?When will my reflection showWho I am insideThere's a heart that must be Free to flyThat burns with a need to know The reason why Why must we all conceal What we think, how we feel?Must there be a secret me I'm forced to hide?I won't pretend that I'm Someone else for all time When will my reflection showWho I am inside?When will my reflection show Who I am inside?

*************คำแปลจ้า***************
ที่เธอเห็นไม่ได้เป็นตัวฉันอย่างที่ตัวฉันเป็นยังมีความลับมากมาย ซ่อนเอาไว้ไม่มีใครรู้จักตัวฉัน หลอกใครๆ แต่ในใจจริงนั้นฉันไม่เคยต้องการ ทนมานานไม่รู้เท่าไหร่ใครกันจ้องมองฉันอยู่ ดูเหมือนเธอกำลังร้องไห้ ภาพที่เห็นเป็นเงาของใครไม่ใช่ตัวฉันเลยต้องทนกล้ำกลืน ทนฝืนใจนานเท่าไรจะคลายหมองเศร้า กลับคืนมาเป็นตัวของเราเป็นใจของเราสักทีอีกกี่คนที่ต้องทนเจ็บช้ำแต่ก็จำต้องทนมีตัวตนอยู่เพื่อใครสักวัน จะให้โลกได้รู้ถึงความในใจคงมีใครยอมรับฉันได้ทำไมต่างคนซุกซ่อน แสดงละครปิดบังหัวใจบทที่เห็นเป็นตัวของใคร ไม่ใช่ตัวของเราต้องทนกล้ำกลืน ทนฝืนใจนานเท่าไรจะคลายหมองเศร้ากลับคืนมาเป็นตัวของเราเป็นใจของเราสักทีกลับคืนมาเป็นตัวของเราเป็นใจของเราสักที

วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2550

สิ่งที่หายไป










หวัดดี วันนี้เปิดตัวด้วยภาพสวยงามมมมมมมมมมมมมมม เอออออ เอาความรู้ฝรั่งเศสมาฝากล่ะ ไปอ่านเจอมา ง่า วันนี้หยุดวันสุดท้ายแล้ว ก้อพรุ่งนี้มีคอนเสริต์ล่ะ ดีดิ ได้เต้นแล้วงานนี้ ยะฮิ้ววววววววววววววววววววววว กำ เออ งั้นแค่นี้ก่องแล้วกัน ไปทำการบ้านก่อง งานเยอะมาก ดองจนเค็มหมดแล้ว โฮย เหงื่อตกแน่งานนี้ กำอ่ะ เออ แต่ต้องเก็บเกี่ยวเวลาไว้เยอะๆ เดวจะตายในอนาคตได้ น้า งั้นไปล่ะน้าบาย ปล. อย่าลืมอ่านเนื้อหาของเราล่ะ






รอบรู้ ก่อนเดินทาง สู่….ประเทศ ฝรั่งเศส
ความรู้ทั่วไป
จำนวนประชากร : 58.3 ล้านคน ( 01 มกราคม 2539) เป็นอันดับที่ 17 ของโลกความหนาแน่นของประชากร : 105 คน ต่อตารางกิโลเมตร
พื้นที่ : มีพื้นที่ 551,000 ตารางกิโลเมตร เป็นประเทศที่มีพื้นที่กว้างขวางที่สุดในยุโรป หรือหนึ่งในสี่ของพื้นที่ในประชาคมเศรษฐกิจยุโรป หากมองดูจากแผนที่ประเทศฝรั่งเศสแล้ว จะเห็นว่าเป็นเหมือนรูปหกเหลี่ยม ดังนั้นบางครั้งคนฝรั่งเศสจึงเรียกประเทศของตนว่า L'hexagone ซึ่งแปลว่ารูปหกเหลี่ยม
การปกครอง : การปกครองแบบรัฐธรรมนูญปี 1958 แก้ไขเพิ่มเติมเมื่อปี 1962 มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของประเทศ (คนปัจจุบัน President Jacques Chirac) เข้าดำรงตำแหน่งโดยการเลือกตั้ง ซึ่งมีขึ้นทุกๆ 7 ปี ประธานาธิบดีจะเป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี และแต่งตั้งคณะรัฐมนตรีตามที่นายกรัฐมนตรีเสนอ รัฐสภา ประกอบด้วย 2 สภา สภาผู้แทนราษฎร ซึ่งประกอบด้วยสมาชิก (สส) ที่มาจากการเลือกตั้งทุกๆ 5 ปี วุฒิสภา ประกอบด้วยสมาชิกที่ได้รับการเลือกตั้งทางอ้อมทุกๆ 9 ปี และ 1 ใน 3 ของจำนวนสมาชิกเลือกตั้งทุกๆ 3 ปี
เพลงชาติ ลา มาร์แซยแยสา (La Marseillaise) แต่งโดย รูเชต์ เดอ ลิลล์ (Rouget De Lisle) โดยคำสั่งของนายกรัฐมนตรีเมืองสตราสบูร์กเมื่อปี 1792 เดิมมีชื่อว่า าเพลงรบกองทัพแห่งไรน์า (Chant de Guerre pour I'Armee du Rhine) ซึ่งมีท่วงทำนองและเนื้อร้องที่เร้าใจ ทำให้เพลงนี้ติดปากชาวฝรั่งเศส และเปลี่ยนมาเป็นเพลงประจำชาติในชื่อของ าลา มาร์แซยแยสา เมื่อปี 1795
ธงชาติ ธงไตรรงค์ หรือ Tricolore เป็นธงต้นฉบับของธงชาติที่หลายประเทศนำมาใช้ ซึ่งประกอบด้วย 3 สี คือ แดง น้ำเงิน ขาว เดิมทีธงลาฟาแยต (La Fayette) ซึ่งในขณะนั้นมี 2 สี คือ แดง และ น้ำเงิน อันเป็นสัญลักษณ์ของกองทหารรักษาพระนครในกรุงปารีสได้ก่อการปฏิวัติ ต่อมาในปี 1789 (พ.ศ. 2332) มีการเพิ่มสีขาวอันเป็นสัญญลักษณ์แห่งความภักดีต่อสถาบันกษัตริย์ในพระราชวงศ์บูร์บองส์เข้าไป และได้นำมาใช้เป็นธงชาติมาตราบเท่าทุกวันนี้
ภูมิอากาศ มี 3 ประเภท คือแบบภาคพื้นสมุทร แบบภูเขา และแบบเมดิเตอร์เรเนียน ในส่วนของนครปารีส นั้น มีอุณหภูมิโดยเฉลี่ยทั้งปี 12 องศาเซลเซียส แต่เอาแน่อะไรกับภูมิอากาศปารีสไม่ค่อยได้ ฝนตกได้ทุกฤดูกาล และบางทีอุณหภูมิหน้าหนาวลดลงกว่า 3 องศาเซลเซียส เรียกได้ว่าถ้าจะไปปารีส ก็ต้องเตรียมตัวรับหลายสถานการณ์ ทางใต้ของฝรั่งเศส มีอากาศอบอุ่นที่สุดเป็นเขตที่มีลมชื่อ มิสทรัล (Mistral) พัดผ่านในราวฤดูใบไม้ผลิ
ตารางอากาศ อุณหภูมิสูงสุดต่ำสุดของแต่ละเดือน ( C)
เงินตรา และธนาคารหน่วยเงินของฝรั่งเศส : คือฟรังค์ (FF) 1 ฟรังค์มีค่าเท่ากับ 100 ซองตีม (เซนต์) ซึ่งมีมูลค่าเป็นเงินไทยประมาณ 7 บาท (เดือน มิถุนายน 2541) ธนบัตรฝรั่งเศสมีมูลค่า 500,200,100,50 และ 20 ฟรังค์ เงินเหรียญของฝรั่งเศสมีมูลค่า 50,20,10 และ 5 ซองตีม เหรียญ 50 ซอง จะออกมาในลักษณะ ฟรังค์
ธนาคารบางแห่งในฝรั่งเศสอาจจะไม่รับแลกเงิน ดังนั้นนักท่องเที่ยวมีความประสงค์จะแลกเงิน สามารถแลกได้จากธนาคารที่มีคำว่า Exchange เขียนบอกไว้ หรือจากที่ทำการไปรษณีย์ที่มีเคาน์เตอร์สำหรับแลกเงิน เวลาทำการของธนาคารบางแห่งอาจจะแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับแต่ละท้องที่ เช่นธนาคารที่อยู่ในเมืองทางเมืองทางตอนเหนือของฝรั่งเศสจะเปิดวันจันทร์-ศุกร์ เวลา 9.30-16.30 หรือ 17.15 น. บางแห่งอาจจะหยุดพักเที่ยงด้วย ธนาคารที่อยู่ในเมืองทางใต้ส่วนใหญ่จะเปิดวันอังคาร-เสาร์ เวลา 8.00-12.00 น. และ 13.30-16.30 น. และเคาน์เตอร์สำหรับแลกเงินของธนาคารมักจะปิดทำการเร็วกว่าเวลาปิดบริการของธนาคารครึ่งชั่วโมง หากพกเงินเป็นจำนวนมาก ขอแนะนำให้ใช้เช็คเดินทางจะปลอดภัยกว่า ในกรณีของบัตรเครดิตเป็นที่ยอมรับทั่วไปในประเทศ ได้แก่ วีซ่าการ์ด นิยมมากที่สุด ตามด้วยมาสเตอร์การ์ด ไดเนอร์คลับ และบัตรอเมริกันเอ็กซ์เพรส ตามลำดับ
การทิป : ตามกฏหมายฝรั่งเศส ร้านอาหารหรือภัตตาคาร สามารถคิดค่าเซอร์วิสชาร์จได้ ประมาณ 10-15% ของราคาอาหาร ดังนั้นการทิปอาจจะไม่จำเป็นเท่าไรนัก แต่คนส่วนมากมักจะทิ้งเศษเหรียญ หรือเงินสัก 2-3 ฟรังค์ ไม่ว่าจะกินกันในจำนวนเงินแค่ไหนก็ตาม หรือถ้าเราพอใจการบริการของเขา ก็อาจจะทิปให้มาก ถ้าไปนั่งกินกาแฟที่ร้าน ควรจะทิ้งเงินทิปไว้สัก 1 ฟรังค์ แต่ถ้าบริการไม่ดีก็ไม่จำเป็นต้องทิปก็ได้ ทั้งนี้ในส่วนของเท็กซี่ และโรงภาพยนต์ ปกติจะทิปประมาณ 2-3 ฟรังค์
โทรศัพท์ โทรศัพท์สาธารณะในฝรั่งเศสมีทั้งแบบใช้บัตรและแบบหยอดเหรียญ ถ้าเป็นในเมืองใหญ่ๆ มักจะเป็นแบบใช้บัตร บัตรโทรศัพท์มี 2 มูลค่า คือ 40 ฟรังค์ มี 50หน่วย และ 96 ฟรังค์ มี 120 หน่วย หากจะโทรศัพท์กลับมาเมืองไทยขอแนะนำให้ใช้บัตรโทรศัพท์จะสะดวกกว่าแบบหยอดเหรียญ หาซื้อบัตรโทรศัพท์ได้ที่ที่ทำการไปรษณีย์ แผงขายหนังสือที่มีอยู่ทั่วไป หรือตามสถานีรถไฟ และร้านขายของที่มีเขียนป้ายติดว่าจำหน่ายบัตรโทรศัพท์ หรือ าTelecarteา หากจะโทรศัพท์มาประเทศไทยด้วยโทรศัพท์สาธารณะจะต้องหมุน 19+66+รหัสเมือง+หมายเลขที่ต้องการ
หากอยู่ที่เมืองอื่นๆในฝรั่งเศส นอกเหนือจากเมืองปารีสและต้องการจะโทรศัพท์มายังปารีส หมุนหมายเลข16+1+หมายเลขที่ต้องการ
ถ้าอยู่ในปารีสและต้องการโทรศัพท์ไปยังเมืองอื่นๆ ให้หมุนหมายเลข 16+หมายเลขที่ต้องการ
หมายเลขโทรศัพท์ที่ควรรู้ 13-โอเปอร์เรเตอร์ 1614-โอเปอร์เรเตอร์สำหรับระหว่างประเทศ
ไฟฟ้า กระแสไฟที่ฝรั่งเศสใช้คือ 220 โวลท์ เป็นปลั๊กชนิด 2 ตา บางพื้นที่เป็นปลั๊กชนิด 3 ขา
น้ำประปา น้ำประปาในฝรั่งเศสสะอาดสามารถดื่มได้จากก๊อก น้ำจากก๊อกที่ไม่สะอาดพอจะมีป้ายบอกไว้เสมอว่า าไม่สามารถดื่มได้า หรือ eau non potable
เวลา เวลาของฝรั่งเศสจะช้ากว่าที่เมืองไทย 6 ชั่วโมง เวลาทำงานและประกอบกิจการ สำนักงานส่วนใหญ่จะเปิดทุกวัน ยกเว้นวันอาทิตย์และบางแห่งวันจันทร์ ชั่วโมงทำการคือ 9.00 หรือ 10.00 น.-18.30 หรือ 19.00 น. หยุดพักเที่ยงตั้งแต่ 12.00 หรือ 13.00 น.-14.00 หรือ 15.00 น. ร้านค้าทั่วไปจะเปิดร้านประมาณ 9.00-18.00 น. ตั้งแต่วันจันทร์-เสาร์ และมักพักตอนเที่ยง มีร้านค้าจำนวนมากที่จะปิดในช่วงวันจันทร์ และแทบทุกร้านจะไม่เปิดขายสินค้าในวันอาทิตย์โดยเฉพาะช่วงบ่ายเลย ร้านขนมปัง มักจะเปิดกันตั้งแต่ 7.00 น. และหยุดพักตอนเที่ยง หลังจากนั้นจะเปิดอีกครั้งจนถึงเวลาประมาณ 19.00 น. หรือเกินกว่านั้น ส่วนร้านที่ไม่หยุดพักในตอนเที่ยง ได้แก่ซูเปอร์มาเก็ต ห้างสรรพสินค้า
ช้อปปิ้งน้ำหอม นักท่องเที่ยวทั่วไปนิยมซื้อน้ำหอมยี่ห้อที่ฝรั่งเศสเป็นต้นตำรับ ซึ่งราคาจะถูกกว่าที่นำมาขายในต่างประเทศมาก เมืองที่มีชื่อเสียงในการผลิตหัวน้ำหอมกลิ่นต่างๆ ได้แก่เมืองนีส คานส์ ริเวียร่า เป็นต้น ยี่ห้อน้ำหอมที่ขึ้นชื่อที่ฝรั่งเศสเป็นเจ้าตำรับได้แก่ Christian Dior และน้ำหอมของ Caron, Givenchy, Rochas, Guerlain, Paco Rabanne เป็นต้น
เสื้อผ้าและสินค้าแฟชั่น ฝรั่งเศสมีชื่อเสียงมากโดยเฉพาะศูนย์รวมของดีไซเนอร์ชื่อดัง และเป็นต้นฉบับของแฟชั่นทั่วโลก
เครื่องดื่มที่มีแอลกฮอล์ฝรั่งเศสมีชื่อด้านนี้อย่างมากโดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ การเป็นแหล่งผลิตของไวน์ และแชมเปญที่สำคัญที่สุดของโลกในปัจจุบันไวน์ (Vin) หรือเหล้าองุ่นเริ่มผลิตขึ้นในฝรั้งเศสเป็นครั้งแรกตั้งแต่ยุคโรมัน โดยกองทัพโรมันที่เข้าปราบปรามอนารยชนได้นำวิธีการทำเหล้าองุ่นมาเผยแพร่และได้สืบทอดการทำไร่องุ่น และเหล้าไวน์มาจนปัจจุบัน ในหมู่นักดื่มไวน์นั้น ถือว่าไวน์ฝรั่งเศสเป็นไวน์ที่ดีทีสุดในโลก แหล่งผลิตไวน์ที่ขึ้นชื่อไดแก่ บอร์โดซ์ (Bordeux) เบอร์กันดี ชองปาญ อัลซาส ลัวร์ โรน โพรวองซ์ จูราและซาวอย และทางตอนใต้สุดของประเทศ
ไวน์แบ่งออกเป็น 3 สี คือ ไวน์ขาว (Blanc) ไวน์แดง (Rouge) และไวน์สีชมพู (Rose) โดยทั่วไปจะนิยมไวน์ขาว และไวน์แดง แต่ไวน์สีชมพูจะไม่เป็นที่นิยมและมักถือว่าเป็นไวน์ที่ดื่มเล่นๆเสียมากกว่า
รสชาติของไวน์นั้นจะแบ่งออกเป็น But = ธรรมดา, Sec = หวานเล็กน้อย, Demi-sec = หวาน, Doux = หวานมาก
คุณภาพของไวน์ที่ผลิตในฝรั่งเศสนั้นรัฐจะควบคุมให้ได้มาตรฐาน โดยแบ่งออกเป็น 4 ลำดับขั้น คือ1) Appellation d'Origine Controlee (AOC) เป็นไวน์ที่แจ้งรายละเอียดการผลิต ที่ผลิต การบรรจุขวด การบ่มไวน์อย่างละเอียดบนป้ายฉลาดขวด เป็นไวน์คุณภาพสูง และสามารถมีราคาสูงได้เป็นพันเป็นหมื่นบาทขึ้นอยู่กับปีที่ผลิตเป็นสำคัญ2) Vins Delimite de Qualite Superieure (VDQS) เป็นไวน์คุณภาพสูง เช่นเดียวกับไวน์ที่มี AOC ต่างกันตรงเป็นไวน์ที่ผลิตจากแหล่งใดแหล่งหนึ่งหรือสถานที่แห่งหนึ่งเป็นพิเศษ ซึ่งสถานที่นั้นๆได้รับการรับรองว่าผลิตไวน์ได้คุณภาพ เช่นไวน์จากบอร์โดซ์ ซึ่งจะบรรจุขวดรูปทรงไม่เหมือนกับไวน์ที่อื่นๆ ไวน์แบบนี้มีราคาสูงเช่นกัน3) Vin de Pays หรือไวน์ท้องถิ่น ราคาไม่ค่อยแพง คุณภาพปานกลางมักเสิร์ฟตามร้านอาหารทั่วไป4) Vin De Table หรือไวน์ธรรมดาๆ คุณภาพปานกลาง มักเสิร์ฟตามร้านอาหารแบบชาวบ้านโดยใส่มาเป็นเหยือก (carafe)องุ่นต่างพันธุ์จะให้รสชาติของไวน์ที่ต่างกันไป ชื่อพันธุ์องุ่นจะถูกบ่งบอกไว้ที่ขวดด้วย พันธุ์องุ่นที่กล่าวกันว่าดี ให้ไวน์รสกลมกล่อม นุ่มละมุนเป็นที่นิยมกันก็ คือpinot noir, pinot gris, pinot blanc, muscat, riesling, cabernet sauvignon, cabernet franc, merlot, petit verdot, malbec, muscadet, sauvignon, chenin blanc, gamay
นอกจากนี้ยังมีประเภท เครื่องสำอาง, กระเป๋าและเครื่องหนัง, ผ้าลูกไม้ฝรั่งเศสอาหารการกินในสมัยก่อนคนฝรั่งเศสสามัญชนโดยเฉพาะในชนบท จะถืออาหารกลางวันเป็นอาหารหลัก ส่วนในราชสำนักจะถือมื้อเย็นเป็นสำคัญ แต่ในปัจจุบันเวลาอาหารปกติ คือ กลางวัน 12.00-14.00 น. เย็น 20.00-22.00 น.เพราะฉะนั้นตามเมืองใหญ่ๆ โดยเฉพาะปารีสร้านอาหารอาจเปิดประมาณ 11.30 น. ถึง บ่าย 2 โมง และเปิดอีกครั้งเวลา หนึ่งทุ่มไปจนถึงเที่ยงคืน บางร้านอาจเปิดไปจนถึงตีสองหรือตีสามเพื่อรับนักท่องเที่ยวราตรีโดยเฉพาะ
อาหารเย็นแบบเต็มยศ จะประกอบด้วยอาหารตั้งแต่ 6 จาน (คอร์ส) ขึ้นไป เสิร์ฟไวน์ตลอดเวลา ไม่นิยมเครื่องดื่มชนิดอื่นระหว่างรับประทานอาหารนอกจากน้ำหากไม่ดื่มไวน์ภัตตาคารที่หรูหราจะเสิร์ฟอาหารแบบเต็มยศ ซึ่งจะสั่งเพียง 2 หรือ 3 คอร์สก็ได้ การสั่งอาหารในภัตตาคารหรูจะเรียงลำดับดังนี้1. Aperitif (เหล้า หรือ เครื่องดื่มสำหรับจิบเรียกน้ำย่อย)2. Entree และ/หรือ ออร์เดิร์ฟ (อาหารจานแรก อาจมีซุปต่ออีกคอร์สก็ได้)3. Plat Pricipal (อาหารจากหลัก)4. Salade (สลัดเสิร์ฟเคียงกับอาหารจานหลัก)5. Fromage (เนยแข็งชนิดต่างๆ วางบนถาดไม้)6. Dessert (ของหวาน)7. Fruit (ผลไม้)8. Cafe หรือ The (กาแฟ หรือ ชา)9. Degestif (เหล้าหลังอาหาร)
รูปแบบของอาหาร ได้มีการแบ่งรูปแบบอาหารออกเป็นลำดับชั้น คือ1. Haute Cuisine อาหารที่ปรุงอย่างหรูหราสำหรับคนร่ำรวยใช้เวลาในการเตรียมนาน และเมื่อเสิร์ฟก็ต้องตกแต่งอย่างสวยงาม2. Cuisine Bougeoise อาหารที่ทำกินกันเองในบ้าน แต่ใช้เครื่องปรุงที่มีคุณภาพ3. Nouvelle Cuisine อาหารแนวใหม่ใช้เครื่องปรุงธรรมชาติแบบดูแลสุขภาพ เหมาะสำหรับผู้ที่สนใจลดน้ำหนัก4. Cuisine des Province อาหารพื้นบ้านชนบทใช้เนื้อสัตว์และผักนานาชนิด โดยไม่แปรรูปให้วิจิตรพิสดาร
ร้านอาหาร ร้านอาหารในฝรั่งเศสแม้หน้าตาคล้ายๆ กัน แต่อาจเรียกไม่เหมือนกัน ด้วยลักษณะของอาหารที่ขายรวมทั้งเครื่องดื่มด้วย1. Restaurant คือ ภัตตาคาร มักจะขายอาหารเฉพาะอย่างเช่น อาหารไทย, อาหารเวียดนาม หรืออาหารทะเล รวมทั้งร้านที่ขายเฉพาะอาหารฝรั่งเศสด้วย จะเปิดขายอาหารกลางวันถึงประมาณบ่ายสามโมงแล้วปิด จะขายอาหารเย็นอีกครั้งราวหกโมงครึ่งไปจนถึง 4-5 ทุ่ม การสั่งอาหารจะค่อนข้างใช้เวลานาน2. Brasserie คือ ร้านอาหารที่เปิดขายตั้งแต่เช้าจรดเย็นโดยไม่มีเวลาหยุดพัก และมีอาหารเสิร์ฟทั้งวัน3. Cafe คือร้านกาแฟ เป็นแหล่งชุมชนของผู้คนในละแวกนั้น จะเสิร์ฟอาหารแบบง่ายๆ อาทิ แซนวิช หรือ ครัวซอง แต่ส่วนใหญ่จะเป็นกาแฟ หรือเครื่องดื่มอื่นๆ4. Salon de The เป็นภาคที่หรูหราของคาเฟ่ เสิร์ฟอาหารเบาๆ พวกสลัด หรือ แซนวิช และมีขนมอบ ขนมหวาน เครป และไอศกรีมให้รับประทาน ส่วนใหญ่จะเปิดสายๆถึงหัวค่ำ5. Boulandgerie หรือร้านขายขนมปัง สดใหม่น่ารับประทาน จะเปิดแต่เช้าและปิดตอนใกล้ค่ำ6. Patisserie ร้านขายขนมอบนานาชนิด ไม่ว่าจะเป็นเพสตรี เอแคลร์ หรือครัวซอง บางร้านมีโต๊ะวางไว้เผื่อลูกค้าจะนั่งในร้าน และมีชา กาแฟเสิร์ฟ ด้วย7. Confiserie หมายถึงร้านที่ขายของหวานจำพวกช็อคโกเลต ลูกกวาด ผลไม้เชื่อม ในบางร้านอาจมีเค้ก พาย ที่แต่งอย่างหน้ารัก สวยงาม และพอคำ
อาหารจานเด็ด หากไปถึงฝรั่งเศสอย่าลืมลิ้มลองอาหารขึ้นชื่อเหล่านี้1. Fruits de mer คืออาหารทะเลสดๆ ประกอบด้วยกุ้ง หอย และปูหลากชนิดลวกพอสุก จัดวางบนน้ำแข็งเกล็ดในถาดใบโต รับประทานโดยการบีบมะนาว และจิ้มน้ำส้มสายชูใส่หัวหอมซอย ถ้าจะให้ดีต้องกลั้วคอด้วยไวน์ขาว และแนมให้หนักท้องด้วยข้าวไรย์ทาเนย อาหารจานนี้เป็นอาหารเมืองชายทะเลภาคตะวันตก2. Cog au vin หรือ ไก่อบซอสไวน์แดงใส่หอม และเห็ดดุม เป็นอาหารที่ภัตตาคารแทบทุกแห่งจะต้องบรรจุไว้ในเมนู3. Soupe a l oignon หรือซุบหัวหอม เป็นอาหารที่สำคัญอีกจานหนึ่ง หอมหัวใหญ่จะถูกหั่นเป็นเส้นบางๆ เคี่ยวจนเกือบเละในน้ำซุปรสเข้ม เมื่อจะเสิร์ฟ จึงลอยขนมปังที่อบร้อนโดยมีเนยแข็งวางอยู่ข้างบน4. Escargots a la Bourguignonne หอยทากเอสคาร์โกอบจนสุก พอออกจากเตาร้อนๆก็เอาเนยสดที่ผสมเครื่องเทศใส่ลงไปจนเต็มปากหอย รับประทานเรียกน้ำย่อย5. Pate de foie gras ตับบดปรุงรสด้วยเครื่องเทศ ทำจากตับห่านหรือตับเป็ด หากไม่บดก็อาจเป็นชิ้นๆ ปรุงด้วยเหล้าบรั่นดี
ขนมปังขนมปังของฝรั่งเศสที่เรียกว่า บาแกตต์ (Baquette) มีเอกลักษณ์พิเศษกว่าใคร ด้วยการทำเป็นทรงยาวกว่า 2 ฟุต เส้นผ่าศูนย์กลาง 2-3 นิ้ว เวลาทานมักบิออกด้วยมือ หรือฝานออกเป็นชิ้นๆ อีกชนิดที่นิยมคือ ครัวซอง
ขนมหวานขนมหวานที่เป็นที่รู้จักกันดี ได้แก่1. เครป (Crepe) เป็นเสมือนอาหารว่างมากกว่า พบเห็นทั่วไป ที่ขึ้นชื่อที่สุดคือ เครปซูเซตต์ หรือเครปน้ำตาลใส่น้ำส้มและเหล้า2. มารองกลาสเซ่ (Marron Glace) หรือเกาลัดเชื่อมหวานสนิม ร้านที่ขายที่ขึ้นชื่อ คือร้าน Fauchon3. เอแคลร์ (Eclair) ขนมอบใส่ใส้ครีม
ขนมว่างเป็นอาหารง่ายที่กินระหว่างมื้อ ที่ขึ้นชื่อก็คือ โคร้ก เมอซิเออร์ (Croque monsieur) ซึ่งเป็นแซนวิชวางแฮมและเนยแข็งไว้ข้างบนแล้วเข้าอบ ถ้าวางไข่ดาวด้วยเรียก โคร้ก มาดาม (Croque madam)
เนยแข็งชนิดของเนยแข็งฝรั่งเศสที่ขึ้นชื่อ อาทิ 1. รอคฟอร์ต (Roquefort) เนยกลิ่นแรงรสจัดมีเส้นสีฟ้าๆอยู่ในเนื้อเนย 2. กามองแบร์ (Camembert) เนยสีขาวนวลเนื้อนิ่ม มีเปลือกสีขาวรอบนอก ซึ่งกินได้ แต่ไม่ค่อยกิน3. บรี (Brie) เนยสีฟ้า หรือ Blue









อัญมณีจะคู่ควร สำหรับคนที่เห็นค่าของมัน ถึงแม้ว่ามันจะสวยแค่ไหนก้อตามในสายตาคนอื่น แต่ในเมื่อเจ้าของไม่ต้องการมัน อัญมณีเหล่านี้ ก้อจะหลุดมือ แล้วอาจจะไม่กลับมาอีกเลย ฉะนั้น คิดให้ดีก่อนที่จะทิ้งขว้างมัน อยากให้รู้ไว้ว่า อัญมณีก็มีหัวใจ





**************หวัดดี ทักทาย กันหน่อย *******













หายไปนานเช่นเดิม น้าน เพิ่งมำแฟ้มเสร็จ หยกๆ เหนื่อยฟร่ะ ยอมรับเรย ว่าเหนื่อยจิง โคดโชคดีอ่ะ ที่โรงเรียนหยุดไม่งั้นอ่ะ ตายแน่
เออ นนี่ไปสอบชิงทุนมา ข้อสอบไร ยากโคดอ่ะ แต่ของเอเอฟเอส อ่ะ พอรับได้ แต่ได้เปล่าไม่รู้ เออ แต่ที่พอลุ้น อ่ะคงเป็น ของเมกา ไปปีหน้าแหละ แล้วก้อต้องไปเข้าค่ายภาษา หน่อยนึง แต่รู้ตัวว่าไม่ค่อยรอดอ่ะ โรงเรียนอื่นพูดไฟแล็บเรย เหนแล้วน่ากลัว ง่า ไงเราฟังไม่ค่อยรู้เรื่องอ่ะ เครียดดด เออ แต่ก็สู้ตาย ยอมรับว่าอยากไปมากๆๆ อยากไปจิงๆๆ ก่อนจบม. 6 เนี่ย เเออ ไหงไมไม่มีเลือกฝรั่งเศสอ่ะ มีแค่เมกา เออ เอ้าที่ไหนก้อได้แล้วกัน อยากไปโว้ย เอออ วันนี้อ่านข่าวเกี่ยวกะแอดมิต แต่ปี 2553 อ่ะ รุ่นเราคงพ้นแล้วแหละ เค้าบอกว่ารุ่นเราใช้แบบเดิม จีพีเอ 50% เหมือนเดิม อือ ก้อดีอ่ะ ไม่งั้นคงไม่รอดอ่ะ น่าปวดหัวอ่ะ ชอบเปลี่ยนจังเลย ระบบสอบเข้าเนี่ย ( แฮร์รี่ เกี่ยวไรอ่ะ )






********* โฮย โครดดีใจอ่ะ มีคนเม้นด้วย แต้งกิ้ว หลายเด้อ อยากเม้นให้กลับใจจะขาด แต่เครื่องบ้านเค้ามันไม่โชว์ให้ เฮ้อ กำ ******





ข่ายอาสาฯลุยค้านสอบโอเน็ต8วิชา
ร่วมส่งประเด็นข่าวที่น่าสนใจ คลิกที่นี่ ข่าวของท่านมีประโยชน์กับผู้อื่นอีกมากมาย
คาดได้หมื่นชื่อเสนอนายกฯสัปดาห์หน้า "อุทุมพร"ยันปี"51สอบครบทุกกลุ่มสาระฯกรณีที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) มีมติให้ระบบกลางการรับนิสิตนักศึกษา หรือแอดมิสชั่นส์ ประจำปีการศึกษา 2553 ใช้ 2 องค์ประกอบ ได้แก่ 1.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับมัธยมปลาย ที่คิดจากค่าเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมปลาย หรือจีพีเอเอ็กซ์ และคะแนนสอบแบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต รวมกัน 50% โดยคะแนนโอเน็ตมาจากการทดสอบทั้ง 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ และ 2.การวัดความถนัดในวิชาชีพ หรือ Aptitude Test โดยแบ่งเป็นการวัดความถนัดทั่วไป และการวัดความถนัดเฉพาะสาขาวิชาชีพ รวมกัน 50% โดยในส่วนของผู้ที่จบการศึกษาก่อนปีการศึกษาปัจจุบัน ให้สมัครสอบตรงกับทางมหาวิทยาลัยนั้นเมื่อวันที่ 18 มิถุนายน นายอุเทน พิพัฒน์โภไคยศรี นักเรียน ม.5 โรงเรียนวัดราชบพิธ หนึ่งในแกนนำเครือข่ายอาสาเพื่อบ้านเกิด เปิดเผยว่า มติ ทปอ.โดยเฉพาะการใช้คะแนนโอเน็ต 8 กลุ่มสาระฯ มีผลกับนักเรียน ม.4 ถือเป็นการประกาศให้ทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ ตนยังยืนยันว่าสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) ควรจัดสอบโอเน็ตกับนักเรียน ม.6 ในปีนี้เพียง 5 กลุ่มสาระฯ ไม่เห็นด้วยกับการสอบเพิ่มอีก 3 กลุ่มสาระฯ เพราะกะทันหัน และแม้ว่าพวกตนจะกลายเป็นเด็กซิ่ลในอนาคต โดยที่มีคะแนนโอเน็ตเพียง 5 กลุ่มสาระฯ ในขณะที่ ทปอ.ใช้ 8 กลุ่มสาระฯ ก็ไม่คิดว่าจะส่งผลกระทบ หรือหากกระทบ ทปอ.ก็คงหาวิธีแก้ไขให้"ปีนี้ สทศ.ไม่ควรสอบโอเน็ตเพิ่ม เพราะนักเรียนยังไม่พร้อม นักเรียน ม.6 มีเวลาเตรียมตัวแค่ปีเดียว อีกทั้ง การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สุขศึกษาและพลศึกษา และศิลปะ เป็นการเรียนภาคปฏิบัติ แต่ละโรงเรียนทำเนื้อหาการสอนแตกต่างกัน เวลานี้ สทศ.แจ้งว่าคนที่ไม่ต้องการสอบ 3 กลุ่มสาระฯเพิ่ม ให้ยื่นคำชี้แจงเข้ามาก่อนเดือนตุลาคม ทำให้พวกผมสงสัยว่า สทศ.จะจัดสอบโอเน็ตเพิ่มทำไม เพราะด้านหนึ่งบอกว่าเป็นพันธกิจ ขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้เด็กเลือกที่จะไม่สอบก็ได้" นายอุเทนกล่าวนายณภัทร จันทร์นวล นักเรียน ม.6 โรงเรียนมัธยมวัดนายโรง อีกหนึ่งในแกนนำเครือข่ายเด็กอาสาเพื่อบ้านเกิด กล่าวว่า เครือข่ายเด็กอาสาเพื่อบ้านเกิดจะแถลงข่าวเปิดตัว และออกแถลงการณ์คัดค้านเรื่องนี้ในวันที่ 19 มิถุนายน เวลา 17.00 น.บริเวณชั้นล่างศูนย์หนังสือ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ทั้งนี้ ตนไม่ขัดที่ สทศ.จะจัดสอบโอเน็ต 8 กลุ่มสาระฯ แต่ควรแจ้งล่วงหน้าอย่างน้อย 3 ปี อีกทั้งไม่ควรนำโอเน็ตไปผูกกับการสอบเข้ามหาวิทยาลัย เพราะเมื่อให้สอบได้เพียง 1 ครั้ง ก็จะไม่เป็นธรรม"นอกจากนี้ จะทำเข็มกลัดชื่อว่า "โอเน็ต..ไม่โอ" ขายอันละ 20 บาท ซึ่งมาจากแนวคิดที่ไม่แน่นอนของการสอบโอเน็ต และการศึกษาไทยในปัจจุบันที่ไม่โอสักที และนักเรียนไม่มีส่วนร่วม เพื่อหารายได้เป็นค่าใช้จ่ายสำหรับการเคลื่อนไหวคัดค้าน เบื้องต้นจะผลิต 500-1,000 อัน" นายณภัทรกล่าว และว่า ส่วนความคืบหน้าการล่ารายชื่อนักเรียนที่คัดค้านเพื่อเสนอนายกรัฐมนตรี, รัฐมนตรีว่าการ ศธ. และผู้อำนวยการ สทศ.นั้น ขณะนี้มีผู้ลงชื่อผ่านออนไลน์ 2,500 คน ยังไม่รวมที่ลงชื่อปกติ ถือว่ากระแสตอบรับดี คาดว่าอีก 1 สัปดาห์จะได้ครบ 10,000 ชื่อ โดยรายชื่อจะส่งให้ต่อเมื่อได้รับหลักประกันว่าเด็กจะไม่ได้รับผลกระทบนางอุทุมพร จามรมาน ผู้อำวยการ สทศ.กล่าวว่า สทศ.ประกาศบนเว็บไซต์ว่าผู้ที่ไม่ประสงค์จะสอบ 3 กลุ่มสาระฯที่เพิ่มขึ้น ให้แจ้งก่อนเดือนตุลาคมจริง เพราะเป็นช่วงทำฐานข้อมูล จะได้รวบรวมตัวเลขเพื่อพิมพ์ข้อสอบ แต่ไม่ได้หมายความว่าอนุญาตให้นักเรียนไม่สอบ เพียงแต่ไม่บังคับ เพราะไม่มีใครล่ามโซ่ให้มาสอบได้ และการลากมาสอบก็ไม่มีประโยชน์ ปล่อยให้เป็นวิจารณญาณของนักเรียนเอง ทั้งนี้ นักเรียนน่าจะคิดอีกมุมว่าการสอบเป็นเรื่องดี จะได้วัดความรู้ของตัวเองว่าอยู่ระดับไหน ตนอยากให้นักเรียนคิดยาวๆ โดย สทศ.ยังยืนยันในหลักการว่าจะจัดสอบ 8 กลุ่มสาระฯไม่เปลี่ยนแปลง
แหล่งที่มา มติชน


เวลาชีวิตใน 1 วัน
ร่วมส่งประเด็นข่าวที่น่าสนใจ คลิกที่นี่ ข่าวของท่านมีประโยชน์กับผู้อื่นอีกมากมาย
การแพทย์ตะวันออกถือว่า กลางวันและกลางคืนมีความสัมพันธ์กับสุขภาพของมนุษย์อย่างแยกไม่ออก โดยมองลึกลงไปอีกว่า ช่วงเวลา 24 ชั่วโมงในหนึ่งวันนั้นภายในร่างกายของมนุษย์ยังมีการไหลเวียนของพลังชีวิตที่ผ่านอวัยวะภายในของร่างกาย ซึ่งประกอบด้วย อวัยวะตันและอวัยวะกลวง
อวัยวะตัน หมายถึง หัวใจ เยื่อหุ้มหัวใจ ปอด ม้าม ตับ ไต
อวัยวะกลวง หมายถึง กระเพาะอาหาร ถุงน้ำดี ลำไส้ใหญ่ ลำไส้เล็ก กระเพาะปัสสาวะ ระบบความร้อนของร่างกาย (ชานเจียว)
การไหลเวียนของพลังชีวิต (ลมปราณ) ที่ผ่านแต่ละอวัยวะนั้นจะใช้เวลาสองชั่วโมง ทั้งหมดมี 12 อวัยวะ รวม 24 ชั่วโมง คือ หนึ่งวัน เรียกว่า "นาฬิกาชีวิต"
1.00-3.00 น. เป็นช่วงเวลาของตับ ควรนอนหลับพักผ่อนถ้าใครนอนหลับได้ดีเป็นประจำในช่วงเวลานี้ ตับจะหลั่งสารมีราโทนิน (meratonine) เพื่อฆ่าเชื้อโรคทำให้หน้าอ่อนกว่าวัย นอกจากร่างกายจะหลั่งมีราโทนินประจำแล้ว ยังหลั่งสารเอนโดรฟิน (endorphin) ออกมาด้วยจึงไม่ควรกินอาหาร เพราะจะทำให้ตับทำงานหนักและเสื่อมเร็ว
3.00-5.00 น. เป็นช่วงเวลาของปอด ควรตื่นขึ้นมาสูดอากาศรับแดดตอนเช้า ผู้ที่ตื่นช่วงนี้ประจำ ปอดจะดี ผิวดี และเป็นคนมีอำนาจในตัว???
5.00-7.00 น. ลำไส้ใหญ่ ควรถ่ายให้เป็นนิสัย คนเรามักไม่ตื่นกันตอนนี้ซึ่งเป็นเวลาที่ลำไส้ต้องบีบอุจจาระลง เมื่อไม่ตื่นจึงบีบขึ้น เมื่อไม่ถ่ายตอนเช้าลำไส้ใหญ่จึงรวน แล้วจะมีอาการปวดหัวไหล่ กล้ามเนื้อเพดานจะหย่อน แล้วจะนอนกรนในที่สุด
7.00-9.00 น. กระเพาะอาหาร กินเข้าเช้าตอนนี้จะดี กระเพาะแข็งแรง ถ้ากระเพาะอ่อนแอ จะทำให้เป็นคนตัดสินใจช้า ขี้กังวล ขาไม่ค่อยมีแรง ปวดเข่า หน้าแก่เร็วกว่าวัย ถ้าไม่กินข้าวเช้าอุจจาระจะถูกดูดกลับมาที่กระเพาะ กลิ่นตัวจะเหม็นถ้าถ่ายออกหมดจะไม่มีกลิ่นตัวเท่าไหร่
9.00-11.00 น. ม้าม ม้ามจะอยู่ชายโครงด้านซ้าย หน้าที่ควบคุมเม็ดเลือด สร้างน้ำเหลือง ควบคุมไขมัน คนที่ปวดหัวบ่อยมักมาจากม้าม อาการเจ็บชายโครงมาจากม้ามกับตับ ม้ามโต จะไปเบียดปอด ทำให้เหนื่อยง่าย ผอมเหลือง ตาเหลือง สร้างเม็ดเลือดขาวได้น้อย ม้ามชื้น อาหารแและน้ำที่กินเข้าไปจะแปรสภาพเป็นไขมัน ทำให้อ้วนง่าย คนที่หลับช่วง 9.00-11.00 ม้ามจะอ่อนแอ ม้ามยังโยงไปถึงริมฝีปากคนที่พูดมากช่วงนี้ม้ามจะชื้น ควรพูดน้อยกินน้อย ไม่นอนหลับ ม้ามจะแข็งแรง
11.00-13.00 น. หัวใจ หัวใจจะทำงานหนักช่วงนี้ ให้หลีกเลี่ยงความเครียด หรือใช้ความคิดหนัก หาทางระงับอารมณ์ไว้
13.00-15.00 น. ลำไส้เล็ก **ควรงดกินอาหารทุกประเภท** เพื่อเปิดโอกาสให้ลำไส้ทำงาน ลำไส้เล็กทำหน้าที่ดูดสารอาหารที่เป็นน้ำเพื่อสร้างกรดอะมิโนสร้างเซลล์สมอง ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอ สร้างไข่สำหรับผู้หญิง
15.00-17.00 น. กระเพาะปัสสาวะ จะเกี่ยวข้องกับระบบความจำ ไทรอยด์ และระบบเพศทั้งหมด ช่วงเวลานี้ควรทำให้เหงื่อออก จะออกกำลังการหรืออบตัวกระเพาะปัสสาวะจะได้แข็งแรง การอั้นปัสสาวะบ่อยจะถูกดูดซึมเข้ากระแสเลือดทำให้เหงื่อเหม็น
17.00-19.00 น. ไต ควรทำใจให้สดชื่น ไม่ง่วงเหงาหาวนอนตอนนี้ ถ้าง่วงแสดงว่าไตเสื่อม ยิ่งหลับแล้วเพ้อ อาการยิ่งหนัก
19.00-21.00 น. เยื่อหุ้มหัวใจ ช่วงนี้ควรสวดมนต์ ทำสมาธิ ให้ระวังเรื่องตื่นเต้น ดีใจ หัวเราะ
21.00-23.00 น. เวลาของระบบความร้อนของร่างกาย ต้องทำร่างกายให้อุ่น ห้ามอาบน้ำเย็นเวลานี้จะเจ็บป่วยได้ง่าย ช่วงนี้อย่าตากลมเพราะลมมีพิษ
23.00-1.00 น. ถุงน้ำดี เป็นถุงสำรองน้ำย่อยที่ออกมาจากตับ อวัยวะใดขาดน้ำ จะดึงมาจากถุงน้ำดี ทำให้ถุงน้ำดีข้น อารมจะฉุนเฉียว สายตาเสื่อม เหงือกบวมปวดฟัน นอนไม่หลับ ตื่นกลางดึก ตอนเช้าจะจาม ถุงน้ำดีจะโยงถึงปอดจะปวดศีรษะข้างเดียวหรือสองข้างโดยไม่ทราบสาเหตุ ควรดื่มน้ำก่อนเข้านอน หรือก่อนเวลา 23.00 น.
สรุป1.00-3.00 น. นอนซะ3.00-5.00 น. ตื่นมาสูดอากาศ5.00-7.00 น. ขับถ่าย7.00-9.00 น. กินข้าวเช้า9.00-11.00 น. อย่าพูดมาก กินน้อยๆ อย่านอน11.00-13.00 น. หลีกเลี่ยงความเครียด13.00-15.00 น. ห้ามกิน15.00-17.00 น. ออกกำลังหรืออบตัวให้เหงื่อออก17.00-19.00 น. ทำให้สดชื่น อย่าง่วง19.00-21.00 น. ทำสมาธิ21.00-23.00 น. ทำตัวให้อุ่นๆ ไว้23.00-1.00 น. กินน้ำก่อนนอน


"อุทุมพร จามรมาน" ไขข้อข้องใจ ทำไม?? "ม.6" ต้องสอบ "โอเน็ต 8 กลุ่มฯ"
ร่วมส่งประเด็นข่าวที่น่าสนใจ คลิกที่นี่ ข่าวของท่านมีประโยชน์กับผู้อื่นอีกมากมาย
จากกรณีที่สถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) เตรียมจัดทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ในปี 2551 สำหรับนักเรียน ม.6 หรือเทียบเท่า ได้แก่ คณิตศาสตร์, วิทยาศาสตร์, ภาษาอังกฤษ, ภาษาไทย, สังคมศึกษาฯ, การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สุขศึกษาและพลศึกษา และศิลปะ แต่มีนักเรียนจำนวนหนึ่งไม่เข้าใจเหตุผล และไม่เห็นด้วยกับการสอบเพิ่มอีก 3 วิชา คือ การงานอาชีพฯ, สุขศึกษาฯ และศิลปะ เพราะเข้าใจว่าทั้ง 3 วิชา ต้องสอบเฉพาะการปฏิบัติ ไม่มีเนื้อหาที่จะต้องนำมาทดสอบในการสอบโอเน็ตนั้น นางอุทุมพร จามรมาน ผู้อำนวยการ สทศ.แจกแจงว่าเป็นความเข้าใจผิด เพราะทั้ง 3 วิชา มีการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ จึงสามารถนำเนื้อหาส่วนที่เป็นทฤษฎีของทั้ง 3 วิชามาออกข้อสอบเพื่อวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้นอกจากนี้ หน้าที่ของ สทศ.ในส่วนของการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ การประเมินคุณภาพระดับชาติในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 ที่ให้ผู้เรียนทุกคนที่เรียนปีสุดท้ายของแต่ละช่วงชั้นเข้ารับการประเมินในกลุ่มสาระฯที่สำคัญ และกลุ่มสาระฯอื่น ตามที่กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) กำหนด เพื่อนำข้อมูลที่ได้จากการประเมินไปใช้พัฒนาคุณภาพของผู้เรียน และคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่ง โดยผลที่ได้จากการประเมิน โรงเรียนจะนำไปกรอกในระเบียนแสดงผลการเรียน (แบบ ปพ.1) หรือทรานสคริปต์ ในช่องผลการประเมินระดับชาติ และนำคะแนนที่สะท้อนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรวบยอดของนักเรียนในช่วงชั้นที่ 4 ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่สะท้อนผลการสอนของครูในแต่ละกลุ่มสาระฯ ครบทุกกลุ่ม ไปวางแผนปรับปรุงการเรียนการสอนสำหรับนักเรียนรุ่นต่อๆ ไปทุกกลุ่มสาระฯการจัดทดสอบโอเน็ตนั้น รัฐเป็นผู้รับภาระค่าใช้จ่ายทั้งหมด โดย สทศ.ได้วางแผนของบประมาณการจัดสอบให้ครบทุกช่วงชั้น ทุกกลุ่มสาระฯ ในปี 2554 ดังนี้(ดูตารางประกอบ)ส่วนการนำคะแนนโอเน็ตไปใช้อย่างไร ใช้เพื่อวัตถุประสงค์ใดเป็นเรื่องของผู้ใช้ เช่น ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) นำคะแนน ม.6 ไปพิจารณาเป็นส่วนหนึ่งในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) นำคะแนนไปใช้ประกอบการคิดเกรดของโรงเรียน, โรงเรียนเอกชนนำไปใช้คัดเลือกนักเรียนเข้าเรียนในชั้นที่สูงขึ้น ซึ่งเป็นเรื่องของผู้ใช้ไม่เกี่ยวข้องกับ สทศ.นอกจากนี้ โรงเรียนทุกโรงจัดการเรียนการสอนทั้ง 8 กลุ่มสาระฯ ตามมาตรฐานการเรียนรู้ในหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2544 ตามหลักสูตรแกนกลางที่ ศธ.กำหนด ให้มีเฉพาะมาตรฐานการเรียนรู้ที่จำเป็น สำหรับการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกคน และสถานศึกษาจะต้องนำไปจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ทำให้นักเรียนทุกคนในช่วงชั้นเดียวกันทั่วประเทศ มีมาตรฐานเดียวกันในแต่ละกลุ่มสาระฯ ดังนั้น การสอบโอเน็ตจึงเป็นส่วนหนึ่งในการตอบคำถามสาธารณชนได้ว่า การจัดการเรียนการสอนทุกกลุ่มสาระฯ เป็นมาตรฐานเดียวกันทั่วประเทศและกลุ่มสาระการเรียนรู้ 3 กลุ่มที่จะสอบเพิ่ม ได้แก่ การงานอาชีพและเทคโนโลยี, สุขศึกษาและพลศึกษา และศิลปะ เพราะเข้าใจว่าทั้ง 3 วิชา มีการเรียนการสอนทั้งภาคทฤษฎีและปฏิบัติ จึงสามารถนำเฉพาะส่วนเนื้อหาความรู้ที่ปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานมาจัดสอบได้ ไม่ได้สอบภาคปฏิบัติแต่อย่างใด
แหล่งที่มา มติชน

ได้ข้อสรุปแล้ว สัดส่วนคะแนน แอดมิชชั่นปี53
ร่วมส่งประเด็นข่าวที่น่าสนใจ คลิกที่นี่ ข่าวของท่านมีประโยชน์กับผู้อื่นอีกมากมาย
จากการประชุมที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เมื่อวันที่ 16 มิ.ย. ที่ห้องประชุมจำรัส ฉายะพงศ์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี นายวันชัย ศิริชนะ อธิการบดีมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง ในฐานะประธาน ที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) เปิดเผยว่า ที่ประชุมเห็นชอบองค์ประกอบและสัดส่วนที่จะนำมาใช้ ในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ในระบบกลางการรับนิสิต นักศึกษาหรือแอดมิชชั่น ประจำปี การศึกษา 2553 โดยจะใช้คะแนนจากองค์ประกอบ 2 ส่วน คือ
1. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วยค่าเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือจีพีเอเอ็กซ์ (GPAX) และคะแนนแบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นพื้นฐาน หรือโอเน็ต รวมกันร้อยละ 50 ซึ่งคะแนนโอเน็ตดังกล่าวจะมาจากทดสอบทั้ง 8 กลุ่มสาระวิชา สำหรับสัดส่วนที่จะใช้ได้ มอบหมายให้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ไปจัดทำรายละเอียดเอง โดยอาจจะรวมเป็นสัดส่วนเดียวกันก็ได้ แต่หาก สพฐ.ไม่สามารถคำนวณเป็นคะแนนเดียวกันได้ ทปอ.จะคิดสัดส่วนจีพีเอเอ็กซ์ ร้อยละ 20 และคะแนนโอเน็ต ร้อยละ 30
2 คือการทดสอบความถนัด (Aptitude Test) แบ่ง เป็นการทดสอบความถนัดทั่วไป และการทดสอบความ ถนัดเฉพาะสาขาวิชาชีพ รวมร้อยละ 50 ส่วนสัดส่วนที่ จะนำมาใช้ให้แต่ละกลุ่มสาขาวิชา อาทิ วิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ นิติศาสตร์ แพทยศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ ไปกำหนดร่วมกันอีกครั้ง ทั้งนี้ ยืนยันว่าองค์ประกอบดังกล่าวเป็นมติของ ทปอ.และจะไม่มีการเปลี่ยนแปลง โดย ทปอ.จะประกาศอย่างเป็นทางการในเร็วๆนี้ ประธาน ทปอ.กล่าวอีกว่า สำหรับองค์ประกอบแอดมิชชั่นในปี 2551 และ 2552 จะยังคงใช้องค์ประกอบเดิม เพราะถือว่าได้มีการประกาศไปล่วงหน้าแล้ว ส่วนกรณี ของนักเรียนที่จบการศึกษาก่อนปีการศึกษา 2549 หรือ เด็กซิล ซึ่งคะแนนโอเน็ตไม่เป็นไปตามเกณฑ์ของ ทปอ.นั้น เนื่องจากเป็นคนกลุ่มน้อยหากจะมีการปรับองค์ประกอบเพื่อแก้ปัญหาเด็กกลุ่มนีอาจจะกระทบสิทธิของเด็กกลุ่มใหญ่ ดังนั้น ทปอ.จะยังคงยืนยันตามเกณฑ์เดิม แต่จะแก้ปัญหาโดยให้ไปสมัครตรงกับทางมหาวิทยาลัย ซึ่งขึ้น อยู่กับการพิจารณาของมหาวิทยาลัย ทั้งนี้ขอให้เด็กกลุ่มดังกล่าวติดตามประกาศของมหาวิทยาลัยต่างๆ ส่วนการจัดสอบแบบทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติขั้นสูง หรือ เอเน็ต ทปอ. จะประสานกับสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ว่าจะสามารถจัดสอบเอเน็ตได้หรือไม่ แต่หากไม่สามารถดำเนินการได้ก็จะขอให้เป็นหน้าที่ของสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (สทศ.) แต่จะต้องเป็นการจัดสอบให้ครบทุกวิชา ไม่เฉพาะวิชาหลักเท่านั้น แต่การจัดอันดับคณะที่จะเข้าศึกษายังคงให้ สกอ. ดำเนินการ เพราะมีความชำนาญอยู่แล้ว นายวันชัยกล่าวด้วยว่า ในอนาคต ทปอ.มีความเห็นตรงกันว่าจะนำคะแนนคุณธรรมและความดี มาเป็นองค์ประกอบในระบบแอดมิชชั่น โดยจะประสานให้ สพฐ. จัดทำหลักสูตรว่าด้วยคุณธรรมและความดีตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษาตอนปลาย และให้เก็บสะสมคะแนนมาใช้เป็นองค์ประกอบแอดมิชชั่น โดยเชื่อว่าอย่างน้อยจะทำให้นักเรียนมีสำนึกติดตัวในเรื่องคุณธรรมความดี และรู้สึกผิดชอบชั่วดีอยู่บ้าง อย่างไรก็ตาม ที่ผ่านมากระทรวงศึกษาธิการดำเนินการมานานแล้ว แต่ไม่มีผลอะไร เนื่องจากไม่ได้นำคะแนนมาใช้ ทปอ.เลยเห็นชอบในหลักการให้นำคะแนนดังกล่าวมาใช้ ทั้งนี้ คงดำเนินการไม่ทันใช้ในแอดมิชชั่นปี 2553 แต่เป็นการโยนหินถามทางก่อนว่าสังคมเห็นด้วยหรือไม่ ซึ่ง ทปอ.ก็พร้อมที่จะรับฟังความคิดเห็นแหล่งที่มา ไทยรัฐ


ศธ.ขานรับองค์ประกอบแอดมิชชั่นปี 53
ร่วมส่งประเด็นข่าวที่น่าสนใจ คลิกที่นี่ ข่าวของท่านมีประโยชน์กับผู้อื่นอีกมากมาย
ศ.ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน รมว.ศึกษาธิการ กล่าวว่า มติของที่ประชุมอธิการบดีแห่งประเทศไทย (ทปอ.) ที่ให้ใช้ผลจีพีเอรวมกับผลการสอบโอเน็ต 50% และการทดสอบความถนัด 50% เป็นองค์ประกอบในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาต่อในสถาบันอุดมศึกษา ในระบบกลางการรับนิสิตนักศึกษา หรือแอดมิชชั่น ประจำปีการศึกษา 2553 เป็นแนวคิดที่ตรงกับกระทรวงศึกษาธิการ และสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) คิดไว้ ซึ่ง สพฐ.ได้วางแผนเรื่องการถ่วงน้ำหนักระหว่างจีพีเอกับผลโอเน็ต และจะรายงานเป็นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยจะหารือกับสถาบันทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ ว่าจะรวมคะแนน 2 ส่วนอย่างไร ส่วนแนวคิดจะใช้คะแนนคุณธรรมและความดีมาเป็นองค์ประกอบหนึ่งในแอดมิชชั่นนั้น ตนคิดว่าเรื่องนี้ต้องสร้างเกณฑ์การวัดให้ชัดเจน เรื่องคุณธรรมความดี อาจอยู่ในกลุ่มสาระวิชาที่เรียนอยู่แล้ว หาก ทปอ.จะนำผลของกลุ่มสาระนี้ไปใช้ก็ทำได้ หรือ ทปอ.จะสร้างเกณฑ์ออกข้อสอบวัดคุณธรรม หรือใช้ ระบบการรายงานพฤติกรรมด้านคุณธรรม จริยธรรมที่มีการบันทึกไว้ในสมุดพกนักเรียนก็ทำได้ แต่ปัญหาใหญ่อยู่ที่การจำแนกคุณธรรมใครสูงกว่าใครวัดยาก ส่วนแอดมิชชั่นปีการศึกษา 2551 และ 2552 ที่ไม่ให้ผู้ที่จบการศึกษาก่อนปี 2549 สมัครระบบกลาง แต่ให้สอบตรงนั้นตนเห็นด้วย
ดร.ชัยพฤกษ์ เสรีรักษ์ ผอ.สำนักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่าวว่า จากผลการทดสอบโอเน็ตเฉลี่ย 5 วิชา พบว่านักเรียนชั้น ม.6 ที่สอบโอเน็ต ปีการศึกษา 2549 ได้คะแนนเฉลี่ยทั้ง 5 วิชา สูงสุด 10 อันดับแรก ได้แก่ กทม. 46.26 จังหวัดภูเก็ต 42.85 นนทบุรี 41.95 สมุทรปราการ 40.85 เชียงใหม่ 40.51 ชลบุรี 39.81 สงขลา 39.67 สมุทรสงคราม 39.30 ราชบุรี 38.99 และแพร่ 38.59 ส่วนจังหวัดที่ทำคะแนนได้ต่ำ 10 อันดับท้าย คือ ปัตตานี 30.65 กาฬสินธุ์ 31.42 หนองบัวลำภู 31.47 นราธิวาส 31.59 ยะลา 31.63 นครพนม 32.01 ชัยภูมิ 32.20 หนองคาย 32.55 มหาสารคาม 32.37 และสระแก้ว 32.37 อย่างไรก็ตาม แม้ 10 จังหวัดที่ทำคะแนนเฉลี่ย 5 วิชาได้สูงสุด แต่ยังไม่เป็นที่น่าพอใจ เพราะคะแนนยังไม่ถึง 50% ดังนั้น สพฐ.ต้องเร่งพัฒนาคุณภาพมาตรฐานเพิ่มขึ้น.
แหล่งที่มา ไทยรัฐ





Bordeaux Travel Guide






Bordeaux is the capital of Gironde department with a population of 660,000 people, this is the largest cities in France and one of the largest in Europe, Bordeaux is an economic, comercial and industrial center, but its principal source is the wine trade, all the wine produced in the Bordelais region is known as Bordeaux wine. In the 5th century the city lost its importance but it was increased again when the city became the seat of the dukes of Aquitaine, the commercial activity also increased during this period.The intellectual reputation of Bordeaux was made by Montaigne and Montesquieu, who were born nearby and who were both magistrates in the city. In the 18th century Bordeaux begun exporting wine to England and the relation between these regions were better. The Third Republic was established in Bordeaux in the National Assembly in 1871. This city was the temporary seat of French Goverment during the World Wars.






Cannes Travel Guide

The city of Cannes is situated at the south part of France in the Riviera region and its population is approximately of 70.000 inhabitants. Cannes is very famous around the world for its Film Festival and also for its Cannes Lions Festival. This is a very luxurious city and has as a principal source the tourism. It is 905 km away from Paris, 164 km from Marseille and 26 km away from Nice. The coast is very visited, the Boulevard de la Croisette is one of the most important attractions for tourists who love beach, sun and sand. La Croisette is a 12 km waterfront avenue with many elegant hotels, caf้s, shops and restaurants around and many palm trees along. Visiting the Mus้e de la Castre is also a good option for seeing impresionant works of art, paintings, sculptures and decorative arts. And if you want to relax visit the ฮles de L้rins (L้rins Islands) nice views and beautiful beaches. If you just take a walk in the streets of Cannes you will find a very friendly atmosphere, the main rues are d’Antibes and Meynardier. You will have a good time at the boutiques and the restaurants are very good, the prices are sometimes expensive depending if the restaurant is located in the waterfront the price'll be a bit more expensive than the other.

เอออ วันนี้เอาสถานที่ท่องเที่ยวมาฝากล่ะ รู้จักกันดีในนามบอกโดว์ น้าน ช่ายล่ะ เมืองที่มีชื่อเสียงมากของฝรังเศส อันนี้เป็นเวอร์ชั่น อังกฤษ ก่องน้า เดวตามด้วยเวอร์ชั่นฝรั่งเศส เออ งั้นวันนี้ แค่นี้ ก่องแล้วกัน เออ น้ไมกไหไลอ่ะ ย้อยเลย เดวไปกินยาและ บาย****************















วันพฤหัสบดีที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2550

เยี่ยม






เอออ เยี่ยม ๆๆๆ เหนื่อย น้องม.1 นี่น่ารักเนอะ พูดไรก้อฟังหมดอ่ะ เออ อยากได้กลับบ้าน
ง่า อยากร้องไห้ อยากร้องเพลง อยากท้องร้อง อยากร้องงอแง เฮ้อออ
ไม่รุ้พูดไง มันเหนื่อยจิงๆน่ะ กับการทามแฟ้มเนี่ย ทามแล้วได้เปล่าก้อม่ะรุ ทามแล้วได้อะไร สังคมได้อะไร สิ่งแวดล้อมจะกลับมาดีขึ้นอีกไหม แล้วน้ำมันล่ะ จะลดราคาลงหรือเปล่า การร่างรัฐธรรมนูญจะสำเร็จดังความตั้งใจของประชาชนไหม แล้วทามเพื่อ .....? ไร
เออ เบื่อฟร่ะ เบื่อตนเอง เบื่อแขน ขา ใบหน้า และลำคอ เฮ้ย แต่เราชอบซอกสะดือน่ะ มันดูลึกลับดี น่าค้นหา งง ? กับการเมืองล่ะ
ครายช่วยอธิบายให้ฟังหน่อยดิ มันเกิดไรกับบ้านเมืองหรอ แล้วเมื่อไหร่ ผู้ใหญ่จะยอมฟังกันสักกะทีล่ะ เมื่อไหร่จะมีสภาโจ๊กสลับกับสภานิติ
เราว่า สสร. น่าจะหัวยุ่งกว่าเรา แต่ไหง ไมมันไม่มีผม เออ เราเลยสงสารว่าเค้าคงเกาหัวไม่ได้ หว้า สงสารคนไม่มีผม ถ้าเป็นเราหัวล้าน เราคงเก็บกดตาย เจ้าว่าอยากข้าหรือไม่ ฮ่ะท่านขุน เห็นเฮ้งอยากประลองฤทธิ์เดช กับข้า เจ้าชั่งกล้าหาญชาญชัยนัก เจ้ารู้ไม๊ ว่าข้าเป็นลูกใคร นั้นเจ้าคงไม่รู้ล่ะสิ 555++++ 555+++ 55++ ( หัวเราะทามม่ะ ) ข้านี่ลูกพ่อ แม่ เป็นไงล่ะ เจ้าอึ้งเลยล่ะสิท่า เมื่อเจ้ารู้เยี่ยงนี้แล้ว เจ้ายังคงหน้าด้านลงประชันกับข้าอีกไม๊ อะไรน่ะ เจ้าไม่กล้า ขอบาย หร๊อ 5555+ เจ้านี่ชั่งขี้ขลาดน่ะ แลเวเราจะเห้นดีกัน ถ้าเจ้าอยากเห็น เจ้าลองมองไปข้างล่างสิ เหนไหมนั้น






---------+++++++++++++++----ที่มาของดิกฝรั่งเศส-+-----++++++-----+++



ม.ล. มานิจ ชุมสาย เกิดเมื่อวันที่ 5 ตุลาคม พ.ศ 2451 ที่ จ.ฉะเชิงเทรา ปัจจุบันอายุ 93 ปี หลังจากจบ ม.8 จาก ร.ร. สวนกุหลาบวิทยาลัยแล้ว ได้รับพระราชทานทุนเล่าเรียนหลวงไปศึกาต่อที่ประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมัน ได้ปริญญาตรีเกียรตินิยมและจบปริญญโทด้านการศึกษาจากทรินนีตี้ คอลเลจ มหาวิทยาลัยเคมบริดจ์ ประเทศอังกฤษ
เมื่อกลับประเทศไทย เริ่มต้นทำงานเป็นอาจารย์ที่แผนกครุศาสตร์ จุฬาฯ เป็นอาจารย์ใหญ่ ร.ร. หอวัง เคยเป็นข้าหลวงตรวจการศึกษา เป็นอาจารย์ใหญ่ ร.ร.อุดรพิทยานุกูล รวมทั้งเป็นตัวเทนประเทศไทย เข้าร่วมประชุมด้านการศึกษาทั่วโลก
เคยได้รับปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์สาขาครุศาสตร์ และอักษรศาสตร์ จากจุฬาฯและมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประถมาภรณ์ช้างเผือก รวมทั้งเครื่องราชย์ชั้นสูงจากเยอรมันและอังกฤษด้วย
หลังเกษียณอายุได้ค้นคว้าเอกสารทางประวัติศาสตร์ไทยและเอเซียอาคเนย์ในกรุงลอนดอน และปารีส อันเป็นที่มาของการกำเนิดหนังสือหลายเล่มที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม อาทิ "คิงมงกุฎ แอนด์บริติช" และ "ฮิสตอเรีย ออฟ ไทยแลนด์ แอนด์ คอมโบเดีย"

เป็นผู้ก่อตั้งร้านขายหนังสือชื่อ "เฉลิมนิจ" เมื่อปี 2480 ปัจจุบันบริหารงานโดย " ดร.ปาริชาติ ชุมสาย ณ อยุธยา"

ในวันที่ 3 มิถุนายน เวลา 18.00 น. ที่โรงแรมโอเรียนเต็ล สมเด็จพระพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ จะเ
สด็จทรงร่วมพิธีมอบเหรียญตรา "เชอวาลีเย เดอ ลอร์ด นาซียองนาล ดูเมริต" แก่ "ม.ล มานิต ชุมสาย" โดย
ฯพณฯ เอกอัครราชทูตรัฐบาลฝรั่งเศส มร.คริสติยอง แพรตเทรอ ในนามของรัฐบาลฝรั่งเศสและในนามของประธานาธิบดี ฌาค ชีรักแห่งฝรั่งเศส เ
ป็นผู้มอบ
"ม.ล มานิจ" เป็นผู้ทำคุณประโยชน์ให้แก่ประเทศฝรั่งเศสในด้านต่างๆ อาทิ จัดทำพจนานุกรมภาษาไทย-ฝรั่งเศส เป็นฉบับแรกในประเท
ศไทย ค้นคว้าประวัติศาสตร์300 กว่าปีของประเทศฝรั่งเศส สะสมหนังสือต่างๆเกี่ยวกับฝรั่งเศส ตลอดจนสร้างสัมพันธไมตรีอันดีระหว่างไทยกับฝรั่งเศสมายาวนาน จึงเป็นเหตุผลสู่การได้รับเกียริต์นี้
ข้อมูลจาก หนังสือพิมพ์มติชนรายวัน หน้า 3 ฉบับวันที่ 3 มิถุนายน 2545

งงงงงงงงงง **************ไหมนั้น เดวคราวหน้าจะมาเมสตีม พร้อมฝั่งเศสตัวจิงง สักทีล่ะ ไปก่อน บาย************งงงงงงงง




วันอังคารที่ 12 มิถุนายน พ.ศ. 2550

หิวข้าว บอกเพื่อ ?

หายไปนานมากอ่ะ ................... อ่ะ ๆ ตอนนี้ ก้อเมียนเดิม กีฬาสีมาและ เออ ดีได้เต้นกลางสนามชอบๆๆ 55+ บ้าป่ะเนี่ย นี่เพิ่งเคลียกับน้อง ม. 1 ดูจะน่ารักที่สุดแล้วมั้ง เออ พฤหัส รับน้อง เสียดาย พี่ม. 6 สีม่วงปีที่แล้วเกิดติดประชุม เออ ถ้าได้ป้าแกมา คงดีกว่านี้
โฮย ทามแฟ้มอีกแล้วววววววววว กำเนอะ เออ เบื่อแหละล่ะ เหนื่อยจังเลย ดีใจที่ได้หยุด 9 วัยสวรรค์สุดวิ้ดวิ้ววววว ฮิ้วววววววว มีไรมาเสนอ อ่านข้างล่างดิ

สวัสดีค่ะ เทศกาลคริสมาส และปีใหม่ก็ใกล้เข้ามาทุกที ตอนนี้ผมเลยขอเสนออาหารทานเล่น ทำง่ายๆ ดูดีและอร่อย สำหรับเทศกาลสุดพิเศษนี้ นั่นคือ ROULEAU DE SAUMON FUME



ส่วนประกอบ (๑๗ ชิ้น)แซลมอลรมควัน



๑ ห่อแตงกวา ๑/๒ ลูกแครอทต้มสุก



๒ หัวผักสลัดเขียว ๔-๕ ใบTartar sauceไข่ปลา Truite หรือ Saumonสาหร่ายแผ่น
วิธีทำ



๑. หั่นแตงกวา แครอท และผักสลัด เป็นท่อนพอคำ



๒. นำปลาแซลมอนมาห่อผัดสลัด แครอท แตงกวา ให้มีขนาดพอดีคำ นำสาหร่ายที่ตัดเป็นเส้นมาห่อ ด้านนอกอีกครั้ง



๒. นำแซลมอลโรลจัดวางในจาน ราดด้วย Tartar sauce แล้วโรยด้วยไข่ปลา




BOEUF BOURGUINON





...ไม่ยากอย่างที่คิด...by Fin Gourmet

ปิดเทอมฤดูหนาวก็มาถึง พักผ่อนกายใจให้เต็มที่นะครับ เพื่อเติมพลัง สำหรับการเรียนในเดือนต่อๆ ไป ขอตอนรับปิดเทอมฤดูหนาว ที่ใกล้เข้ามาด้วยอาหารจานร้อน จานนี้




ส่วนประกอบ (สำหรับ ๒ ที่)
เนื้อวัว ๕๐๐ กรัม
หัวหอมใหญ่ขนาดเล็ก ๓ หัว (ถ้าไม่มี สามารถใช้หอมใหญ่ ขนาดปกติได้ แล้วผ่า ๔ ส่วน)
เบคอน ๒ ช้อนโต๊ะ
Champignons de Paris
แครอท ๑ หัว หั่นเป็นท่อนพอคำ
น้ำมันมะกอก ๑ ช้อนโต๊ะ
เนย ๑ ช้อนโต๊ะ
แป้ง (อะไรก็ได้) ๑.๕ ช้อนโต๊ะ
กระเทียบสับ ครึ่งช้อนโต๊ะ
น้ำซุปเนื้อ ๑๕๐ มิลิลิตร (ประมาณ ๒ แก้ว สามารถใช้ ซุปก้อนละลายน้ำแทนได้)
ไวน์แดง ๑๕๐ มิลิลิตร
ใบกระวาน (Thyme Parley)




ขั้นตอนการทำ



๑. หั่นสี่เหลี่ยมลูกเต๋า ขนาดประมาณ ๓ ซม. หั่นชิ้นเล็กๆ ๑๕๐ กรัม ดอกใหญ่ผ่า ๔ เล็กผ่า ๒ feuille de laurier) ๑ ใบครึ่งช้อนชาซอย ๑ ช้อนโต๊ะ (ใช้แบบแห้งแทนได้)๑. ใส่น้ำมันลงกระทะ ตั้งไปให้ร้อนจัด แล้วใส่เนื้อลงไป ผัดให้ผิวนอกเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล แต่ยังไม่ ถึงกับสุก เสร็จแล้วนำขึ้น พักไว้



๒. ในกระทะใบเดิม ใช้ไฟกลาง ใส่เนย หอมและกระเทียม เห็ด ผัดจนหอม แล้วโรยแป้งลงไป ผัดให้ เข้ากันดี แล้วใส่น้ำซุป ไวน์ ใบกระวาน Thyme Parley(ครึ่งนึง) เมื่อใส่น้ำซุปและไวน์ลงไปแล้ว น้ำจะท่วมเนื้อนิดหน่อย



๓. ตั้งไฟจนเดือด ปิดฝา ใช้ไฟอ่อนเคี่ยวประมาณครึ่งชั่วโมงจนน้ำงวดและข้น หมั่นคน เป็นอันเสร็จ



๔. ก่อนเสิร์ฟโรยหน้าด้วย Parley สับที่เหลือ ทานกับขนมปังหรือ Couscous ก็ได้




Bon appétit



"Salade à la française"By Fin Gourmet


สวัสดีครับ หน้าหนาวก็ใกล้เข้ามาทุกที เช่นเดียวกับการสอบ หลายคนคงก้มหน้าก้มตาทำงานและเตรียมตัวสอบ แต่ก็อย่าลืมรักษาสุขภาพกันด้วยนะ ผมขอนำเสนออาหารจานผักอันอุดมไปด้วยคุณค่า พร้อมทั้งรสชาติที่จะสะกดใจผู้ที่ลิ้มลองไปนาน นั่นก็คือ สลัดน้ำใสแบบฝรั่งเศสนั่นเอง เริ่มต้นกันเลยดีกว่า
ส่วนประกอบ
- ผักสลัด (แล้วแต่ความชอบ)
- มะเขือเทศ ๑ ลูก
- แอปเปิ้ลเขียวหั่นสี่เหลี่ยมลูกเต๋า
- ลูก noix ๕ ลูก
- แครอทซอย
- แฮม หรือแซลมอนรมควัน
- เนยแข็ง (gruyère ou emmentale)
- เกลือ หนึ่งหยิบมือ
น้ำปรุง
- น้ำมัน (มะกอก หรือ noix) ๓ ช้อนโต๊ะ
- น้ำส้มสายชู (vinaigre de vin ou de cidre ou balsamique) ๑ ช้อนโต๊ะ
- Moutarde à l’ancien aux grains de moutarde เล็กน้อย
วิธีทำ
๑. นำส่วนประกอบทั้งหมดลงในชามคลุก
๒. ใส่น้ำมัน น้ำส้มสายชู มัสตาด และเกลือ ลงในถ้วย แล้วคนให้เข้ากัน
๓. คลุกน้ำสลัดกับผักให้เข้ากัน
BON APPéTIT


********************** เอิกๆๆ เป็นไงน่ากินเปล่า ไอ้พวกเนี่ยเป็นอาหารที่นักเรียนไทย - ฝรั่งเศสเค้าทามกินกาน ตอนที่ไปอยู่ที่นั้นอ่ะ



เออ ไหนๆๆ จะเรียนภาษาบ้านเค้าแล้วก้อรู้ใช่ป่ะ ว่าอะไรดังที่สุดของฝรั่งเศส อ่ะ น้ำหอม ถูกต้องน่ะคร้าบบบบบบบบบบบบบบบ อ่างั้นมาดูกันดีกว่าว่าน้ำหอมจะเหมาะกับตัวเองยังไงงงงงงงงง...............................



--------------------------เลือกน้ำหอมให้เหมาะกับตัว----------------------------------------------

การเลือกซื้อน้ำหอมให้เหมาะกับตัวคุณ
“น้ำหอม” ปัจจุบันนี้ไม่ได้แค่เป็นสัญลักษณ์แห่งความหอมเท่านั้น แต่ยังสามารถบ่งบอกถึงบุคลิก ลักษณะ และรสนิยมของผู้ใช้อีกด้วย ดังนั้นการเลือกใช้น้ำหอมให้เหมาะสมกับไสตล์ และ ความต้องการของผู้ใช้จึงถือเป็นสิ่งสำคัญ


การตัดสินใจเลือกซื้อน้ำหอมตามหนังโฆษณา หรือ ตามยี่ห้อที่มีชื่อเสียง โดยไม่ได้ทดลองกลิ่นดูก่อนนั้น อาจเรียกได้ว่าเป็นการเลือกใช้ที่ผิดพลาดอย่างใหญ่หลวง จำไว้เสมอว่า การบรรยาย หรือ การพรรณนาเชิญชวนในร้าน (ไม่ว่าจะมารูปแบบไหนก็ตาม) มันก็จะเป็นแค่คำบรรยาย หรือคำเชิญชวน แต่สิ่งที่สำคัญนั่นก็คือ เมื่อคุณฉีดน้ำหอมไปแล้วนั้น คุณรู้สึกดีและพอใจกับกลิ่นกลิ่นนั้น


คนส่วนใหญ่เวลาเลือกซื้อน้ำหอม มักจะไปเดินดูตามเคาเตอร์ และทดลองฉีดกลิ่นนั้นกลิ่นนี้ ฉีดไปดมไป มีเท่าไรก็ลองไปหมด เมื่อหลายหลายยี่ห้อเข้า ประสาทการดมกลิ่นจะล้า มึนหัว และถ้าอาการหนักมากก็จะถึงขั้นอาเจียนในที่สุด
หลักการง่ายง่ายในการเลือกซื้อน้ำหอมให้เหมาะสมกับตัวคุณ
คำแนะนำข้อแรก คุณควรพิจารณาก่อนว่าคุณชอบกลิ่นน้ำหอมประเภทไหน เช่น กลิ่นดอกไม้ หรือกลิ่นผลไม้ เป็นต้น


เมื่อคุณรู้ตัวเองแล้วว่าคุณชอบกลิ่นน้ำหอมประเภทไหน ก็ตัดสินใจเดินตรงเข้าไปในร้านได้เลยค่ะ การทดลองน้ำหอม ควรจะลองบริเวณผิวของคุณ อย่าไปลองกับกระดาษที่คนขาย หรือ ทางร้านมีให้ เพราะน้ำหอมเมื่อผสมกับกลิ่นของผู้ใช้ ก็จะแสดงลักษณะที่เฉพาะ และแตกต่างออกไปจากกลิ่นเดิม คนแต่ละคนฉีดน้ำหอมกลิ่นเดียวกัน ก็จะให้กลิ่นที่เฉพาะและแตกต่างกันออกไปเช่นกัน ดังนั้นอย่าไปคาดหวังว่า เพื่อนใช้กลิ่นน้ำหอมกลิ่นนี้แล้วหอม เมื่อคุณใช้กลิ่นจะหอมแบบนั้นด้วย


การทดลองน้ำหอม ควรจะฉีดน้ำหอมในประมาณที่เหมาะสมลงไปบริเวณผิวที่อุ่น เช่น ข้อมือ และ ทิ้งไว้ประมาณ 15 นาที เพื่อให้กลิ่นน้ำหอมผสมกับกลิ่นกายของคุณ จากนั้น ดมดูว่าคุณชอบกลิ่นที่คุณเลือกมาดังกล่าวหรือไม่ …… อย่าดมทันทีหลังจากฉีดน้ำหอม เพราะน้ำหอมบางชนิดมีแอลกอฮอล์ อาจจะไปรบกวนประสาทการดมกลิ่น และอาจส่งผลให้คุณตัดสินใจผิดพลาดได้
คุณควรลองน้ำหอมครั้งละไม่เกินสองกลิ่น โดยฉีดบนข้อมือซ้ายและขวา กลิ่นละข้าง พยายามอย่าให้เกินกว่านั้น เพราะมันจะทำให้ประสาทรับกลิ่นของคุณ จะแยกไม่ถูกว่ากลิ่นไหนดีกว่ากลิ่นไหน (เคล็ดลับง่ายๆ ในการที่จะทำให้กลิ่นน้ำหอมติดอยู่ทนกับตัวคุณนานขึ้น นั่นก็คือ ให้เอาโลชั่นที่ไม่มีน้ำหอมทาลงไปบริเวณผิวก่อนที่จะฉีดน้ำหอมค่ะ)

ข้อสุดท้าย พยายามทำให้เป็นนิสัยในการที่จะลองน้ำหอมกลิ่นใหม่ทุกครั้ง เมื่อคุณเดินผ่านร้านน้ำหอม ซึ่งวิธีนี้จะช่วยให้คุณได้เรียนรู้ในกลิ่นที่แตกต่างกันออกไป และ เจอน้ำหอมที่เหมาะสมที่สุดสำหรับตัวคุณ


ไม่ยากเลยใช่มั๊ยคะ….ลองนำเอาหลักการง่ายง่ายเหล่านี้ไปใช้ดูนะคะ แล้วคุณจะหาน้ำหอมที่เหมาะสมที่สุดสำหรับตัวคุณได้ไม่ยากเลยค่ะ
วันนี้ ธรรมสวัสดี ขอเสนอคำว่า กระจกมัว ...... กระจกหมอง
กระจกมัว….ใจหมอง
กระจกใส ไม่หมั่นทำความสะอาดฝุ่นจับหนาเตอะ ฝ้ามัวจิตใจ ไม่หมั่นชำระกิเลสทุรนทุราย หม่นหมอง

สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้คือ

การเรียนนั้นต้องหมั่น ทบทวนบทเรียน เพราะถ้าเราไม่อ่านเขียนอาจโดนไม้ขัดหม้อ ( เกี่ยวกันไหมเคอะ )

อีกครั้งน่ะค่ะ

กระจกมัว….ใจหมอง
กระจกใส ไม่หมั่นทำความสะอาดฝุ่นจับหนาเตอะ ฝ้ามัวจิตใจ ไม่หมั่นชำระกิเลสทุรนทุราย หม่นหมอง

สามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้คือ

การเรียนนั้นต้องหมั่นทบทวน เพราะถ้าเราไม่อ่านเขียนอาจโดนไม้ขัดหม้อได้

พบกับธรรมสวัสดีได้ใหม่คราวหน้าเมื่อชาติต้องการ สำหรับวันนี้ สวัสดีค่ะ**********