วันเสาร์ที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

สวัสดี สวัสดี วันนี้เรามาเจอกัน เธอกับฉัน พบกันสวัสดี ( ยังมีอารมณ์มาร้องเพลง )
อ่ะ ไหนๆๆก็ จะต้องทำข้อสอบกันและ มีสมาธิกันหรือยังจ๊ะ
( รูปของอิฉันตอนเด็กๆ เอิ้กๆๆ )
สมาธิ
จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

การทำสมาธิในลัทธิเต๋า
สมาธิ ในความหมายของพจนานุกรม แปลว่า ที่ตั้งมั่นแห่งจิต แต่สมาธิในความหมายของการฝึกปฏิบัติ คือการทำใจนิ่งๆ ว่างๆ เฉยๆ ร่างกาย ยิ่งเคลื่อนไหว ยิ่งแข็งแรง แต่จิตใจ หาก หยุด นิ่ง เฉย ได้แล้วจะยิ่งมีพลัง เหมือนการรวมโฟกัสของแสง ให้เป็นจุดเดียวกัน ย่อมมีพลัง ที่จะจุดไฟให้ติดได้ การทำสมาธิมีปรากฏในหลายศาสนา ซึ่งรวมถึง พุทธศาสนา ฮินดู และ เต๋า และยังคงรวมถึงสิ่งที่ไม่เกี่ยวกับศาสนา เช่น โยคะ

Samadhi समाधि en sanskrit et en pāli (variantes : samaddhi, samâdhi ou samâddhi) est un terme du yoga hindou et du bouddhisme.
Il signifie complet (sam-) établissement, maintien, « reposition » (-ādhi) de la conscience, de l'attention. Son usage généralisé a entraîné un important élargissement sémantique: ce substantif masculin signifie « union, totalité, accomplissement, achèvement, mise en ordre, rangement, concentration totale de l’esprit, contemplation, absorption [1] ».
Dans l'hindouisme, c'est le nom de la huitième et dernière étape de l'Ashtanga Yoga qui est exposé dans les Yoga Sutra de Patanjali, durant laquelle l’esprit du yogi réalise la « réalité ultime ». Dans le bouddhisme, ce terme a deux acceptions : concentration et établissement dans l'éveil.

ศัพท์จร้า
1. établissement ++ การสถาปนา / การตั้งถิ่นฐาน
2. usage ++ ผู้ที่ใช้เป็นประจำ
3. entraîné ++ ความร่าเริง / ความสนุกสนาน
4. élargissement ++ การขยายส่วน / การปลดปล่อย
5. substantif ++ ซึ่งที่มีอยู่เป็นตัวตน



วันพุธที่ 20 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551


อืม บำรุงสมองกันหรือยังจ๊ะ ใกล้สอบแล้ว ดูแลตัวเองด้วยน่ะ
อาจเครียดไปนิด แต่ต้องการให้เข้ากับบรรยากาส (อิอิอ ) ส่วนเราน่ะหรอ อืม เครียดจะตายอยู่แว้ววว
**** ขอให้นักเรียนโชคดีในการสอบค่ะ ********* ประกาศทุกวัน++ เพื่อ ?++

สมอง คืออวัยวะสำคัญในสัตว์หลายชนิดตามลักษณะทางกายวิภาค หรือที่เรียกว่า encephalon จัดว่าเป็นส่วนกลางของระบบประสาท คำว่า สมอง นั้นส่วนใหญ่จะเรียกระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คำนี้บางทีก็ใช้เรียกอวัยวะในระบบประสาทบริเวณหัวของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังอีกด้วย
สมองมีหน้าที่ควบคุมและสั่งการการเคลื่อนไหว, พฤติกรรม และรักษาสมดุลภายในร่างกาย (homeostasis) เช่น การเต้นของหัวใจ, ความดันโลหิต, สมดุลของเหลวในร่างกาย และอุณหภูมิ เป็นต้น หน้าที่ของสมองยังมีเกี่ยวข้องกับการรับรู้ (cognition) อารมณ์ ความจำ การเรียนรู้การเคลื่อนไหว (motor learning) และความสามารถอื่น ๆ ที่เกี่ยวกับการเรียนรู้
สมองประกอบด้วยเซลล์สองชนิด คือ เซลล์ประสาท และเซลล์เกลีย เกลียมีหน้าที่ในการดูแลและปกป้องนิวรอน นิวรอนหรือเซลล์ประสาทเป็นเซลล์หลักที่ทำหน้าที่ส่งข้อมูลในรูปแบบของสัญญาณไฟฟ้าที่เรียกว่า ศักยะทำงาน (action potential) การติดต่อระหว่างนิวรอนนั้นเกิดขึ้นได้โดยการหลั่งของสารเคมีชนิดต่าง ๆ ที่รวมเรียกว่า สารสื่อประสาท (neurotransmitter) ข้ามบริเวณระหว่างนิวรอนสองตัวที่เรียกว่า ไซแนปส์ สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เช่น แมลงต่าง ๆ ก็มีนิวรอนอยู่นับล้านในสมอง สัตว์มีกระดูกสันหลังขนาดใหญ่มักจะมีนิวรอนมากกว่าหนึ่งร้อยล้านตัวในสมอง สมองของมนุษย์นั้นมีความพิเศษกว่าสัตว์ตรงที่ว่ามีความซับซ้อนและใหญ่กว่าเมื่อเทียบกับขนาดตัวของมนุษย์

En anatomie animale et humaine, le cerveau (ou prosencéphale) est l'organe central supervisant le système nerveux. Bien que le cerveau soit volontiers cité comme centre de supervision du système nerveux central des vertébrés, le même terme peut être employé pour le système nerveux central des invertébrés.
À noter que dans le langage courant, le terme « cerveau » est employé pour désigner l'ensemble de l'encéphale, c'est-à-dire la partie du système nerveux central située dans la boîte crânienne, ce qui inclut par exemple, le cervelet. Le cerveau est également appelé vulgairement cervelle.
ศัพท์น่ะจ๊ะ
1. cerveau ++ สมอง
2. volontiers ++ เจตนา
3. langage ++ ภาษา
4. située ++ ตั้งอยู่
5. également ++ เท่าเทียมกัน

วันอาทิตย์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551


ณ บนเครื่องบิน สายการบินหนึ่ง ที่บินจากไทยไปฝรั่งเศส
แอร์โฮสเตดคนหนึ่ง ที่เพิ่งจะทำการบินเป็นครั้งแรก เดินเก้กังมาที่ลูกค้า คนแรกที่เธอตั้งใจที่จะบริการ
.............................
แอร์โฮสเตด ** ชาร้อนไหมค่ะ
ลูกค้า ** ร้อนไม่ร้อนก็ลองเอานิ้วจุ่มดูสิย่ะ
แอร์โฮสเตด ** .........

Le thé est une boisson stimulante, obtenue par infusion des feuilles du théier, préalablement séchées et le plus souvent oxydées.
D'origine chinoise, où il est connu depuis l'Antiquité, le thé est aujourd'hui la boisson la plus bue au monde après l'eau. La boisson elle-même peut prendre des formes très diverses : additionnée de lait et de sucre au Royaume-Uni, longuement bouillie avec des épices en Mongolie, préparée dans de minuscules théières dans la technique chinoise du gōngfū chá.
Par analogie, le mot désigne, dans certaines régions de la francophonie ou certaines régions de France une infusion préparée à partir d'autres plantes (par ex. thé de tilleul) bien que l'on doive parler plus proprement de tisane. De même dans certains pays où le thé ne fait pas partie d'une culture ancienne (Allemands ou Italiens parlent ainsi de "Tee" et de "Tè" quelle que soit la plante utilisée) et où le café prédomine largement le secteur des boissons chaudes.

ชา เป็นผลิตภัณฑ์ชนิดหนึ่งสกัดมาจากใบของต้นชา (Camellia sinensis) โดยนิยมใช้รับประทานเป็นเครื่องดื่มร้อน แต่มีให้เห็นในลักษณะเครื่องดื่มเย็นเช่นกัน กลิ่นของชาจะออกมาในขบวนการต่างๆ เช่น การออกซิเดชัน การให้ความร้อน การตากแห้ง ชามีการผลิตทั่วโลกประมาณ 3,000,000 ตัน ต่อปี
ในเมืองไทย ชาไทย ชานม ชามะนาว ชาไข่มุก เป็นที่นิยม

ศัพท์น่ะจร้า

1. infusion ++ การไม่ละลาย /การแพร่

2. préalablement ++ ก่อน /แต่ก่อน

3. séchée ++ ตากให้แห้ง

4. épices ++ เครื่องเทศ

5. prédomine ++ เกิดขึ้นย่อยๆกว่า

วันเสาร์ที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551


วันนี้ พี่ปุ๊กสอนเรื่องดอกมูเก้ เลยนำมาฝากน่ะจ๊ะ

ดอกนี้ ชื่อภาษาอังกฤษคือ Convallaria หรือ Lily of the Valley
The flower is also known as Our Lady's tears since, according to legend, the tears Mary shed at the cross turned to Lilies of the Valley. According to another legend, Lilies of the Valley also sprang from the blood of St. Leonard during his battle with the dragon. Other names include May Lily, May Bells, Lily Constancy, Ladder-to-Heaven, Male Lily and Muguet.
By tradition, Lily of the Valley is sold in France in the streets on May 1st. Since 1982, Lily of the Valley is the national flower of Finland. It is the official flower of Pi Kappa Alpha Fraternity, as well as Kappa Sigma Fraternity.
The name "Lily of the Valley" is also used in some English translations of the Bible in Song of Songs 2:1, although whether the Hebrew word "shoshana" originally used there refers to this species or not is uncertain
ศัพท์น่ะจร๊ะ
1. sprang +++ ผลิใบ
2. fraternity ++ พี่น้องฉันพี่น้อง
3. translation ++ การแปล
4. uncertain ++ ไม่แน่ใจ
5. constancy ++ จำนวนคงที่ /ไม่ลดละ

วันพฤหัสบดีที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551














มาๆๆ มารู้จักกับดอกกุหลาบกันหน่อยน่ะ เห็นถือกันท้างวัน เฮ้อ เห็นแล้วเมื่อยแทน 55+

ความสำคัญทางเศรษฐกิจ
กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกที่มีการปลูกเป็นการค้ากันแพร่หลายทั่วโลกมานานแล้ว กุหลาบเป็นไม้ตัดดอกที่มีการซื้อขาย เป็นอันดับหนึ่งในตลาดประมูลอัลสเมีย ประเทศเนเธอร์แลนด์ ซึ่งเป็นตลาดประมูลไม้ดอก ที่ใหญ่ที่สุดของโลก เมื่อ พ.ศ. 2542 มีการซื้อขายถึง 1,672 ล้านดอก และมักจะมียอดขายสูงสุดในประเทศต่าง ๆ เมื่อเปรียบเทียบกับไม้ดอกชนิดอื่น ๆ โดยประเทศที่ผลิตกุหลาบรายใหญ่ของโลกได้แก่ อิตาลี เนเธอร์แลนด์ สเปน สหรัฐอเมริกา โคลัมเบีย เอกวาดอร์ อิสราเอล เยอรมนี เคนยา ซิมบับเว เบลเยียม ฝรั่งเศส เม็กซิโก แทนซาเนีย และมาลาวี เป็นต้น
ปัจจุบันประเทศไทยมีพื้นที่ปลูกกุหลาบตัดดอกประมาณ 5,500 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกภาคของประเทศ แหล่งปลูกที่สำคัญได้แก่ เชียงใหม่ เชียงราย ตาก นครปฐม สมุทรสาคร ราชบุรี และกาญจนบุรี มีการขยายตัวของพื้นที่มากที่สุดใน อำเภอพบพระ จังหวัดตาก ซึ่งปัจจุบันประมาณว่ามีพื้นที่การผลิตถึง 3,000 ไร่ เนื่องจาก อ.พบพระ มีสภาพภูมิอากาศที่เหมาะสม พื้นที่ไม่สูงชัน และค่าจ้างแรงงานต่ำ (แรงงานต่างชาติ) การผลิตกุหลาบในประเทศไทยอาจแบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การผลิตกุหลาบในเชิงปริมาณ และการผลิตกุหลาบเชิงคุณภาพ การผลิตกุหลาบเชิงปริมาณ หมายถึงการปลูกกุหลาบในพื้นที่ขนาดใหญ่ หรือปลูกในพื้นที่ราบ ซึ่งจะให้ผลผลิตมีปริมาณมาก แต่ผลผลิตไม่ได้คุณภาพ เช่น ดอกและก้านมีขนาดเล็ก มีตำหนิจากโรคและแมลง หรือการขนส่ง อายุการปักแจกันสั้น ทำให้ราคาต่ำ การผลิตชนิดนี้ต้องอาศัยการผลิตในปริมาณมากเพื่อให้เกษตรกรอยู่ได้ ส่วนการผลิตกุหลาบในเชิงคุณภาพ นิยมปลูกในเขตภาคเหนือ และบนที่สูง โดยปลูกกุหลาบภายใต้โรงเรือนพลาสติก ในพื้นที่จำกัด มีการจัดการการผลิตและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยวที่ดี ใช้แรงงานที่ชำนาญ ทำให้กุหลาบที่ได้มีคุณภาพดี และปักแจกันได้นาน ตลาดของกุหลาบคุณภาพปานกลางถึงต่ำ (ตลาดล่าง) ในปัจจุบันถึงขั้นอิ่มตัว เกษตรกรขายได้ราคาต่ำมาก ส่วนตลาดของกุหลาบที่มีคุณภาพสูง (ตลาดบน) ผลผลิตในประเทศยังไม่เพียงพอ และขาดความต่อเนื่อง ทำให้ยังต้องนำเข้าดอกกุหลาบจากต่างประเทศ เช่น เนเธอร์แลนด์ และมาเลเซีย เป็นต้น
ประเทศไทยมีศักยภาพในการผลิตกุหลาบคุณภาพสูงอย่างต่อเนื่อง หากแต่จะต้องผลิตในพื้นที่ที่เหมาะสม คือพื้นที่สูงมากกว่า 800 เมตรเหนือระดับน้ำทะเล หากปลูกในที่ราบจะได้คุณภาพดีในช่วงฤดูหนาวเท่านั้น ดังนั้นการผลิตกุหลาบมีแนวโน้มเพิ่มพื้นที่การผลิตบนที่สูงมากขึ้น

La rose est la fleur des rosiers, arbustes du genre Rosa et de la famille des Rosaceae. La rose des jardins se caractérise avant tout par la multiplication de ses pétales imbriqués qui lui donnent sa forme caractéristique.
Appréciée pour sa beauté, célébrée depuis l'Antiquité par de nombreux poètes et écrivains, pour ses couleurs qui vont du blanc pur au pourpre foncé en passant par le jaune franc et toutes les nuances intermédiaires, et pour son parfum, elle est devenue la « reine des fleurs », présente dans presque tous les jardins et presque tous les bouquets. C'est sans doute la fleur la plus cultivée au monde, mais on oublie souvent que les rosiers sont aussi des plantes sauvages (le plus connu en Europe est l'églantier) aux fleurs simples à cinq pétales, qui sont devenus à la mode, pour leur aspect plus naturel, depuis quelques décennies sous le nom de « roses botaniques ».
Les rosiers cultivés sont le résultat de plusieurs siècles de transformations d'abord empiriques, puis, dès la fin du XVIIIe siècle, méthodiques, en particulier par l'hybridation. Les variétés sont innombrables, on estime à plus de 3000[1] le nombre de cultivars disponibles actuellement dans le monde.


ศัพท? อ่ะจร้า

1. imbriqués ++ มุมหลังคาด้วยกระเบื้อง
2. Antiquité ++ โบราณวัตถุ
3. poètes ++ จินตกวี
4. foncé ++ เข้ม (สี)
5. nuances ++ ลำดับสีจากอ่อนไปเข้ม



วันจันทร์ที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

พระบรมราโชวาท"...ประเทศไทย เป็นประเทศที่อยู่มาเป็นเวลาช้านาน ได้ตกทอดมาเป็นสมบัติของทุกคนใน ปัจจุบัน จึงต้องช่วยกันทะนุถนอม ให้อยู่เย็นเป็นสุขต่อไป แม้จะมี สภาพสถานการณ์ต่างๆ แวดล้อมซึ่งอันตรายและทั้งโลกก็ ประสบปัญหาต่างๆ นานา ก็เชื่อได้ว่า พวกเราจะสามารถไปรอดได้ .."พระราชดำรัส ในโอกาสที่คณะรัฐมนตรีเข้าเฝ้าฯถวายสัตย์ปฏิญาณตนณ พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน 14 มีนาคม 2523"...กิจการใดที่ทำให้การรับน้องใหม่ จะต้องมีเหตุผลและต้องให้ ทุกคนได้เห็นเหตุผลนั้น ไม่ใช่สักแต่จะให้น้องใหม่กลัว พี่รุ่นเก่าเท่านั้น การที่จะให้น้องใหม่มีความเกรงกลัวรุ่นพี่นั้นเป็นการดี แต่สมควรที่จะให้น้องใหม่เข้ามาแล้วเคารพนับถือพี่ จะดีกว่าการเกรงกลัว..."พระราชดำรัสพระราชทานแก่นิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 29 พฤศจิกายน 2512"...นักเรียนที่ยังก่อเรื่องวิวาท จนเกิดความเสียหายแก่ตน แก่โรงเรียน ขอให้สำนึกว่าการกระทำเช่นนั้น อาจกลายเป็นการทำลายอนาคตของตนไปได้อย่างคิดไม่ถึง ฉะนั้น ขอให้พยายามฝึกฝนอบรมตนเองให้มีค่า เป็นคนเต็มคน ให้เป็นคนดีมีประโยชน์ให้ จงได้..."พระราชดำรัส ในพิธีเปิดงานกรีฑา ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ประจำปี 2512 ณ กรีฑาสถานแห่งชาติ 1 ธันวาคม 2512

วันอาทิตย์ที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551


Happy Valentine น่ะจร้า

Valentine's Day is a holiday celebrated on February 14. It is the traditional day on which lovers express their love for each other; sending Valentine's cards, or offering candy. It is very common to present flowers on Valentine's Day. The holiday is named after two among the numerous Early Christian martyrs named Valentine. The day became associated with romantic love in the circle of Geoffrey Chaucer in High Middle Ages, when the tradition of courtly love flourished.
The day is most closely associated with the mutual exchange of love notes in the form of "valentines." Modern Valentine symbols include the heart-shaped outline and the figure of the winged Cupid. Since the 19th century, handwritten notes have largely given way to mass-produced greeting cards.[1] The mid-nineteenth century Valentine's Day trade was a harbinger of further commercialized holidays in the United States to follow.[2] The U.S. Greeting Card Association estimates that approximately one billion valentines are sent each year worldwide, making the day the second largest card-sending holiday of the year behind Christmas. The association estimates that women purchase approximately 85 percent of all valentines


Lumière sur...

La météorologie de l’espace est une discipline récente qui s’intéresse principalement à l'impact de l'activité solaire sur notre environnement terrestre. Plus exactement: La météorologie de l’espace est la discipline qui traite de l’état physique et phénoménologique des environnements spatiaux naturels. Au moyen de l'observation, la surveillance, l'analyse et la modélisation, elle vise plusieurs objectifs : d'une part, comprendre et prévoir l'état du Soleil et des environnements interplanétaire ou planétaire, ainsi que les perturbations qui les affectent, qu’elles soient d’origine solaire ou non; d'autre part, analyser en temps réel ou prévoir d'éventuels effets sur les systèmes biologiques et technologiques (définition adoptée par le portail européen de la météorologie de l’espace
ศัพท์จร้า
1. récente ++ ที่เพิ่งเกิดขึ้นใหม่
2. terrestre ++ พื้นดิน ธรณี
3. météorologie ++ อุตุนิยมวิทยา
4. spatiaux ++ แห่งอวกาศ
5. moyen ++ ปัจจัย / วิธี







วันพุธที่ 6 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551


ส้วมในประเทศไทย มีมาแต่โบราณ โดยในสมัยก่อนจะแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มของกษัตริย์ เจ้านาย ขุนนางและผู้มีฐานะดี, กลุ่มของพระที่อยู่ภายใต้พระธรรมวินัย, กลุ่มของชาวบ้านที่เป็นคนส่วนใหญ่ในสังคม โดยกลุ่มชาวบ้านมักจะไปถ่ายทุกข์ตามที่เหมาะ ๆ ยังไม่มีส้วมใช้กัน จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2440 รัฐได้ออกพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ พ.ศ. 2440 มีผลบังคับให้คนต้องขับถ่ายในส้วม
กระทั่งช่วงปี พ.ศ. 2460-2471 ประเทศไทยได้รับความช่วยเหลือทางการแพทย์และสาธารณสุขจากมูลนิธิร็อกกี้เฟลเลอร์ ซึ่งเป็นองค์กรการกุศลเอกชนของสหรัฐอเมริกา โดยส่งเสริมให้มีการสร้างส้วมในจังหวัดต่าง ๆ และยังเกิดการประดิษฐ์คิดค้นส้วมรูปแบบต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับท้องถิ่นของไทย เช่น “ส้วมหลุมบุญสะอาด” ที่มีกลไกป้องกันปัญหาการลืมปิดฝาหลุมถ่ายและส้วมคอห่านที่ใช้ร่วมกับระบบบ่อเกรอะบ่อซึม ต่อมาเริ่มมีผู้ใช้ส้วมชักโครกมากขึ้นในช่วงที่มีการก่อสร้างบ้านแบบสมัยใหม่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 กระทั่งต้นทศวรรษ 2500 โถส้วมชนิดนี้ก็ได้รับความนิยม มีผู้ใช้เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ จนในปัจจุบัน
จากอดีตที่ผ่านมาส้วมสาธารณะในประเทศไทยเป็นปัญหาพื้นฐานที่สำคัญทางด้านสุขาภิบาล สิ่งแวดล้อมของประเทศไทย และทางกรมอนามัยเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบในการดำเนินการในเรื่องนี้ มีการสำรวจและประเมินผลมาตรฐานส้วมสาธารณะ พบว่าส้วมสาธารณะในประเทศไทยผ่านเกณฑ์มาตรฐานไม่มาก ในปี พ.ศ. 2549 ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพ การประชุมส้วมโลก 2006 หรือ World Toilet Expo & Forum 2006 ซึ่งถือเป็นจุดสำคัญในการพัฒนาส้วมสาธารณะ และมีโครงการหลายโครงการเกี่ยวกับส้วมสาธารณะอีกหลายโครงการ
ประเทศไทยได้ใช้มาตรการหลายอย่าง รวมทั้งมาตรการทางกฎหมายซึ่งมีบทบัญญัติที่เกี่ยวข้องกับส้วม ปรากฏอยู่ในกฎหมายหลายฉบับที่เริ่มมีการออกพระราชกำหนดสุขาภิบาลกรุงเทพฯ ร.ศ. 116 ซึ่งถือเป็นกฎหมายฉบับแรกเกี่ยวกับการสุขาภิบาลของคนกรุงเทพฯ และต่อมาได้ออกกฎกระทรวง ฉบับที่ 39 (พ.ศ. 2537) ซึ่งออกตามพระราชบัญญัติ ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 รวมถึงกฎกระทรวงกำหนดสิ่งอำนวยความสะดวกในอาคารสำหรับผู้พิการหรือทุพพลภาพและคนชรา พ.ศ. 2548




Le canal de Panamá est un canal important traversant l’isthme de Panamá en Amérique centrale, reliant l’océan Pacifique et l’océan Atlantique. Sa construction a été un des projets d’ingénierie les plus difficiles jamais entrepris. Son impact sur le commerce maritime a été considérable puisque les navires n’ont plus eu besoin de faire route par le cap Horn et le passage de Drake à la pointe australe de l’Amérique du Sud. Un navire allant de New York à San Francisco par le canal parcourt 9 500 kilomètres, moins de la moitié des 22 500 kilomètres d’un voyage par le cap Horn.[1]
Bien que le concept d’un canal à Panamá remonte au début du XVIe siècle, la première tentative de construction commença en 1880 sous l’impulsion française. Après que cette tentative eut échoué, le travail fut terminé par les États-Unis d’Amérique et le canal ouvrit en 1914. La construction des 77 kilomètres du canal a été parsemée de problèmes, incluant des maladies comme le paludisme et la fièvre jaune et des glissements de terrain. On estime à 27 500 le nombre d’ouvriers qui périrent pendant la construction.
Depuis son ouverture, le canal a remporté un énorme succès et continue d’être un point de passage stratégique pour la navigation. Chaque année le canal permet le passage de plus de 14 000 navires transportant plus de 203 millions de tonnes de cargaison. Jusqu'à 2002, un total de 800 000 navires étaient passés par le canal.[2] Des travaux d'élargissement du canal ont été lancés en septembre 2007 et devraient être terminés en 2014, permettant alors à des navires encore plus gros d'emprunter le canal.


คลองปานามา (สเปน: Canal de Panamá, อังกฤษ: Panama Canal) เป็นคลองที่มนุษย์สร้างบริเวณคอคอดปานามาในประเทศปานามา เพื่อเชื่อมมหาสมุทรแปซิฟิกกับมหาสมุทรแอตแลนติกเข้าด้วยกัน ซึ่งช่วยย่นระยะเวลาที่ต้องไปอ้อมช่องแคบเดรก และแหลมฮอร์น ทางใต้สุดของทวีปอเมริกาใต้ ในการเดินทางระหว่างทั้งสองมหาสมุทร คลองปานามามีความยาว 82 กิโลเมตร หรือ 51 ไมล์ มีเรือใช้เส้นทางนี้ประมาณ 12,000 ลำต่อปี ใช้เวลาแล่นเรือข้ามคลองประมาณ 9 ชั่วโมง[1]
ถึงแม้ว่าแนวความคิดในการสร้างคลองปานามาจะมีมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่ 16 แล้ว แต่ก็ได้มีการขุดคลองครั้งแรกในปี ค.ศ. 1880 โดยบริษัทฝรั่งเศสที่บริหารโดยนายแฟร์ดีนอง เดอ เลสเซป แต่ก็ล้มเหลวไป มีคนงานกว่า 22,000 คนเสียชีวิตระหว่างการทำงานนี้ จนกระทั่งสหรัฐอเมริกาเข้ามาดำเนินงานต่อ เปิดใช้งานเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1914 รวมการสูญเสียชีวิตทั้งหมดในระหว่างการทำงานสร้างคลองปานามานี้ ตกอยู่ที่ราว 27,500 คน
ตั้งแต่เปิดทำการ คลองปานามาประสบความสำเร็จและเป็นกุญแจสำคัญในการขนส่งสินค้าทั่วโลก โดยมีเรือผ่านเข้า-ออกประมาณ 40 ลำต่อวัน หรือ 14,000 ลำต่อปี หรือคิดเป็นประมาณร้อยละ 5 ของเรือบรรทุกสินค้าทั่วโลก[2] รองรับสินค้าได้ 205 ล้านตัน โดยในปี ค.ศ. 2002 มีเรือใช้ทั้งสิ้นถึง 800,000 ลำ[3]

วันจันทร์ที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551


อ่ะ วันนี้เพิ่งเรียนเรื่อง biftsteak ไปใช่ป่ะ หามาเพิ่ม
Un steak est une tranche d’un grand morceau de viande, typiquement du bœuf. Dans ce cas, on parle de beef steak en anglais, mot francisé en bifteck. On parle toutefois aussi de steak pour des tranches de thon ou saumon, dont le mode de cuisson est similaire.

steak cru
Dire de quelqu’un que c’est un steak est une insulte en argot. Cela est généralement utilisé pour une personne en surpoids ou une personne au physique disgracieux.

Couleur [modifier]
Bon nombre de consommateurs vont, à tort, choisir leur viande en fonction de sa couleur; mais celle-ci n’est pas le meilleur indice de qualité.
En effet, lorsqu'une pièce de bœuf est coupée, sa couleur est rouge pourpre foncé à violacé, mais en présence de l'oxygène, elle tournera en quelques minutes au rouge vif puis au rouge brunâtre si l'exposition se prolonge. Si l'oxygène ne peut pénétrer dans le matériel d’emballage, la viande demeurera foncée. Il est donc naturel que l'intérieur d'un paquet de bœuf haché soit de couleur foncée alors que l'extérieur est rouge vif. Si le bœuf a été bien vieilli, il peut aussi être un peu plus foncé.
Les différences de couleur sont induit par bien des facteurs, dont le type d'emballage utilisé. Pour connaître vraiment la fraîcheur du produit, il vaut mieux se fier à la date d’emballage et à la date « Meilleur avant ».
ศัพท์พ่ะย่ะค่ะ
1. tranche ++ ตัด เฉือย หั่น
2. morceau ++ ก้อน หั่น ผืน
3. surplus ++ มากเกิน
4. fonction ++ การหน้าที่ หน้าที่ตำแหน่ง
5. lorsque ++ เมือ ครั้ง
สเต๊ก (steak) คือชิ้นส่วนขนาดใหญ่ของเนื้อโดยเฉพาะเนื้อวัว ในปัจจุบันเนื้อแดงอื่น ๆ และปลานิยมตัดมาทำสเต๊ก เนื้อสเต๊กจะตัดตั้งฉากกับเอ็นของเนื้อเพื่อคงความนุ่มของเนื้อไว้ สเต๊กสามารถกินได้ในลักษณะปิ้ง ทอด หรือ ต้ม ราคาของสเต๊กจะค่อนข้างสูงเปรียบเทียบกับเนื้อส่วนอื่น ซึ่งการกินสเต็กยังคงแสดงถึงความร่ำรวยในบางวัฒนธรรม
ร้านอาหารที่ขายเฉพาะสเต๊กจะเรียกว่าสเต๊กเฮาส์ โดยการเสิร์ฟอาหารสเต๊ก นิยมเสิร์ฟพร้อมกับเครื่องเคียงที่เป็นผักพร้อมทั้งมันฝรั่ง และบนโต๊ะอาหาร มีดสเต๊ก จะมีความคมมากกว่ามีดทั่วไปสำหรับใช้บนโต๊ะอาหาร และจะมีการเสิร์ฟไวน์ควบคู่กันไป

ระดับความสุก
ความสุก คือปริมาณช่วงเวลาในการเตรียมสเต๊ก ซึ่งขึ้นอยู่กับความชอบของแต่ละบุคคล ความสุกจะใช้กับสเต๊กเนื้อวัวเพื้ออย่างเดียว เนื่องจากเนื้อชนิดอื่นเช่นเนื้อหมู จำเป็นต้องทำให้สุกเพื่อฆ่าเชื้อที่ทำอันตรายต่อมนุษย์ที่อยู่ภายในเนื้อ
แรร์ (rare) เนื้อด้านนอกสีน้ำตาลอมเทา เนื้อส่วนกลางยังคงเป็นสีแดงและสีชมพู
มีเดียมแรร์ (medium rare) เนื้อด้านนอกสีน้ำตาลอมเทา เนื้อส่วนกลางเป็นสีแดงอมเทา ส่วนมากถ้าไม่ได้สั่งอะไรพิเศษ ทางสเต๊กจะจัดเตรียมในลักษณะนี้
มีเดียม (medium) เนื้อด้านในสุดเป็นสีชมพู โดยเนื้อส่วนอื่นจะเป็นสีน้ำตาลอมเทา
มีเดียมเวลล์ (medium well) เนื้อทั้งหมดจะเป็นสีน้ำตาลอมเทา โดยจะเห็นเพียงสีชมพูเรื่อ ๆ ความฉ่ำของเนื้อจะเริ่มลดลงที่ระดับนี้
เวลล์ดัน (well done) เนื้อทั้งหมดจะเป็นสีน้ำตาลอมเทา ความฉ่ำและความนุ่มของเนื้อจะลดลง แต่เนื้อจะสุกทุกส่วน

การทำสเต๊กอย่างคร่าว ๆ
ส่วนประกอบ ได้แก่ เนื้อสัตว์ดิบ น้ำมันพืช เนย เครื่องเทศ ซอสปรุงรสรสเค็ม
วิธีทำ
หมักเครื่องเทศและซอสปรุงรสต่าง ๆ กับเนื้อสัตว์ดิบ เป็นเวลาไม่ต่ำกว่า 30 นาที เพื่อให้เข้าเนื้อ
ตั้งกระทะก้นแบน เทน้ำมันเล็กน้อย ตามด้วยเนยเพื่อให้กลิ่นหอม
ทอดบนกระทะ ไฟกลาง สักครู่แล้วพลิกกลับเพื่อให้เนื้อสุกทั้งสองด้านตามระดับความสุก
ตักออกใส่จาน
กระทะที่เปื้อนอยู่ ใส่เนย นม หรือสลัดครีมแล้วผัดเพิ่ม ถ้าต้องการน้ำราด
ผักต้มอบเนยข้างจาน เช่น ถั่วแขก แครอท ข้าวโพดอ่อน เห็ด
หั่นผักให้เป็นแท่งแล้วนำไปต้มในน้ำเดือดสักพัก พอดูว่าผักสุกแล้ว หรือใช้ไมโครเวฟต้มผักในชามซึ่งมีน้ำร้อนอยู่เต็มก็ได้ ไม่เกิน 10 นาที
นำผักนั้นผึ่งให้แห้ง
ตั้งกระทะ ใส่น้ำมันและเนยเล็กน้อย
นำผักลงไปผัด คลุก ๆ ไม่ต้องนานมากเพราะผักสุกอยู่แล้ว

วันเสาร์ที่ 2 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551


Bonjour Tout les monde
Le pancake (de l'anglais pan, casserole ou poêle et cake, gâteau) est un plat traditionnel du petit déjeuner en Amérique du Nord. Son origine est très probablement allemande: c'est le Pfannkuchen traditionnel des immigrés allemands qui se sont installés aux États-Unis au XVIIIe et au XIXe siècles. Le pancake est une crêpe proche de la crêpe bretonne mais d'un diamètre plus faible (entre 5 et 10 cm) et surtout plus épaisse. L'épaisseur est obtenue par la consistance de l'appareil mais également par un agent levant comme le bicarbonate de soude ou la levure alimentaire.
Ils se mangent généralement sucrés avec du sirop d'érable, de la confiture du miel ou salé avec du beurre (à faire fondre sur le pancake chaud), des œufs, du bacon.
Aux États-Unis, les pancakes américains sont parfois appelés hotcakes, griddlecakes ou flapjacks, et le pancake est une espèce de crêpe que les Britanniques mangent traditionnellement à Mardi Gras, Pancake Tuesday.
Au Québec, le mot pancake n'est jamais utilisé. Il va de soi qu'une crêpe au petit déjeuner est un pancake, tandis que lors des autres repas il s'agit d'une crêpe bretonne ou similaire.

แพนเค้ก เป็นขนมปังแผ่นแบนชนิดหนึ่งทำจาก แป้งนวดเปียก(batter) ซึ่งเป็นแป้งที่ผสมกับ ของเหลว เช่น น้ำ หรือ นม และโดยมากแป้งนวดเปียกจะมีไข่เป็นส่วนผสมอยู่ด้วย แพนเค้กมีความหวานเล็กน้อย และ ถูกทำให้สุกด้วยการหยอดลงในกระทะแบนร้อน ซึ่งเป็นที่มาของชื่อ แพนเค้กมีกินในหลายประเทศในหลายรูปแบบ ส่วนใหญ่แล้วแพนเค้กจะทำจาก แป้งสำเร็จรูป ซึ่งมีส่วนผสมของสารเคมีที่ทำให้แป้งขึ้นตัวเมื่อถูกความร้อน เช่น ผงฟู แม้ว่าในบางที เราสามารถที่จะพบ แพนเค้ก ที่ทำจาก แป้งนวดเปียก ที่หมักจากยีสต์ได้
ในสหรัฐอเมริกา แพนเค้กมักจะนิยมกินเป็นอาหารเช้าโดยกินร่วมกับไซรัปและร่วมกับผลไม้เช่นกล้วยหรือสตรอเบอร์รี
ในยุโรปตอนกลาง แพนเค้กจะมีความบางกว่า แพนเค้กแบบอเมริกาเหนือ และ จะสอดใส้อาหารหลายแบบ ซึ่งสามารถที่จะถูกนำไปทานเป็นอาหารกลางวัน หรือ อาหารมื้อเย็นก็ได้ แพนเค้กแบบนี้ จะถูกเรียกว่า Palatschinken ในภาษาเยอรมัน palacsinta ในภาษาฮังการี clătită ในภาษาโรมาเนีย palačinke ในภาษาเซอเบีย โครเอเชีย และ บอสเนีย naleśnik ในภาษาโปแลนด์


ศัพท์น่ะจร้า
1. installé ++ ตั้งขึ้น/คิดตั้งขึ้น
2. épaisse ++ ความหนา
3. consistance ++ ความหนาแน่น
4. salé ++ แหลม /ฉุน/ เผ็ด
5. tandis ++ อ่อ่น นุ่ม

วันศุกร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2551

Bonjour tout le monde ++++

Le piment ou piment fort (Légume vert ou rouge) (qc) est une plante annuelle de la famille des Solanacées originaire d'Amérique du Sud et centrale, cultivée comme plante potagère pour ses fruits aux qualités alimentaires et aromatiques. Le terme désigne aussi le fruit de cette plante. Elle correspond à cinq espèces du genre capsicum.



พริก เป็นพืชชนิดหนึ่งที่อยู่ในตระกูล Solanaceae มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Capsicum frutescens L. ชื่อภาษาอังกฤษว่า Chilli peppers chili, chile หรือ chilli มาจากคำภาษาสเปน chile โดยส่วนมากแล้ว ชื่อเหล่านี้มักหมายถึงพริกที่มีขนาดเล็ก พริกขนาดใหญ่ที่มีรสอ่อนกว่าถูกเรียกว่า Bell Pepper ในสหรัฐอเมริกา, Pepper ในประเทศอังกฤษและไอร์แลนด์, capsicum ในประเทศอินเดียกับออสเตรเลีย และ Paprika ในประเทศทวีปยุโรปหลายประเทศ พริกชนิดต่างๆมีต้นกำเนิดมากจากทวีปอเมริกา และในปัจจุบันได้ถูกปลูกในหลายประเทศทั่วโลกเพราะพริกถูกนำไปใช้ในการทำเครื่องเทศ เครื่องเคียง และยารักษาโรค

ศัพท์น่ะจร้า
1. piment ++ พริก
2. Soleil ++ แสงแดด
3. alimentaire ++ เป็นอาหารได้
4. aromatiques ++ ที่มีกลิ่นหอม
5. capter . ++ล่อ ดัก