วันพฤหัสบดีที่ 31 มกราคม พ.ศ. 2551
วันจันทร์ที่ 28 มกราคม พ.ศ. 2551
La Marseillaise
Allons enfants de la patrie,
Le jour de gloire est arrivé !
Contre nous de la tyrannie
L’étendard sanglant est levé ! (bis)
Entendez-vous dans les campagnes,
Mugir ces féroces soldats ?
Ils viennent jusque dans nos bras
Egorger nos fils, nos compagnes !
Refrain
Aux armes, citoyens !
Formez vos bataillons !
Marchons, marchons,
Qu’in sang impur
Abreuve nos sillons !
Amour sacré de la patrie,
Conduis, soutiens nos bras vengeurs !
Liberté, liberté chérie,
Combats avec les défenseurs ! (bis)
Sous nos drapeaux, que la victoire
Accoure à tes mâles accents !
Que les ennemis expirants
Voient ton triomphe et notre gloire !
Nous entrerons dans la carrière
Quand nos aînés j’y seront plus ;
Nous y trouverons leur poussière
Et la trace de leurs vertus. (bis)
Bien moins jaloux de leur survivre
Que de partager leur cerceuil,
Nous aurons le sublime orgueil
De les venger ou de les suivre !
ลา มาร์เซแยส (เพลงชาติฝรั่งเศส)
เร็วพวกเราลูกหลานผู้รักชาติ
วันประกาศศักดาได้มาถึง
อำนาจชั่วศัตรูร้ายหมายชีพมึง
ธงรบเลือดชักตรึงอยู่ไม่ไกล
ทหารร้ายใจโจรตะโกนร้อง
คำรามก้องในท้องทุ่งได้ยินไหม
มันราญรุกบุกบ้านเพื่อเอาชัย
ลูกเมียเรามันเชือดได้ให้ตายตาม
เตรียมศาสตราอาวุธเร็วพี่น้อง
รวมพลังเป็นหมู่กองให้เกรงขาม
แล้วตบเท้าก้าวสู่แดนสงคราม
ให้เลือดชั่วสาดตามรอยไถนา
ขอความรักในชาติอันยิ่งใหญ่
นำและหนุนพลังใจทหารกล้า
เสรีภาพ เสรีภาพ เจ้าจงมา
รบเคียงคู่อยู่กับข้ารักษาบ้าน
ใต้ธงรบ "ชัยชนะ" จงประกาศ
พลังชายองอาจชาติทหาร
ให้ศัตรูฉิบหายทรมาน
เมื่อชัยชาญเกียรติก้องเป็นของเรา
พวกเราพร้อมใจสู้สู่แดนหน้า
ที่พี่ชายเคยยุทธาเคยอยู่เฝ้า
ที่ฝุ่นผงธุลีคือพี่เรา
สัมผัสเถ้ารอยร่องของความดี
ความภูมิใจที่ได้รอดปลอดภัยอยู่
หรือจะสู้ได้ร่วมโลงเมื่อเป็นผี
ได้แก้แค้น ได้ตายตาม เพื่อนโยธี
คือศักดิ์ศรีทนงไว้ในใจเรา
วันอังคารที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2551
Vous pouvez nous joindre pendant l'émission, au 02 99 33 9000. François, notre président-technicien, vous répondra, et vous pourrez même passer à l'antenne ! Si vous avez des messages à nous transmettre (témoignages, critiques, lettres d'amour, recettes de cuisine...), rendez-vous sur notre forum.
A dimanche !
Mise à jour : finalement, l'émission se déroulera en l'absence de Loïc.
วันเสาร์ที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2551
กะว่าไปเรียนพิเศสปิดเทอมทุกวัน จะได้คุยกะฝรั่งสักหน่อย แต่เราเลิก 2 ทุ่ม อ่ะอด**
Ton amour, ta puissance,
Ta présence dans ma vie !
Ton amour, ta puissance,
Ta présence dans ma vie !
Et je veux t'adorer de tout mon cœur,
Et je veux t'adorer de toute mon âme,
Et je veux t'adorer de toute ma force
Car tu es mon Dieu,
Tu es mon Dieu.
1. puissance ****พิภพ กำลัง อำนาจ
2. adorer **** รักอย่างบูชา ถวายสักการะ
วันพฤหัสบดีที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2551
วันพุธที่ 16 มกราคม พ.ศ. 2551
วันจันทร์ที่ 14 มกราคม พ.ศ. 2551
Vous pourrez donc voir les photos de 2 feux d'artifices de Cannes (Fêtes et Feux, Vicente Caballer) et un de Monaco (Russie).
ง่า ๆๆๆ ช้าจังแฮะ โฮย รอนานแล้วน้า
Sports (américain)
Le football est bien-sûr le sport le plus typique des USA. Chaque année se déroule la finale professionnelle de football, le Big Bowl. Au niveau universitaire ("college football"), le "Big 12" réunit les 12 meilleures équipes de l'année.
Le base-ball prend aussi une place importante dans la vie des américains, bien qu'étant assez ennuyeux à regarder. A l'origine, ce sport fut créé par les businessmen qui se réunissaient l'après-midi, avant que les ouvriers aient terminé leur journée, pour jouer à ce qu'on appelle aujourd'hui base-ball. Le premier match de base-ball a avoir été officiellement retenu dans les archives date du 19 juin 1845, fut joué à Hoboken, New Jersey, et opposait les "New York Nine" aux Knickerbockers.
Etant plus populaire au nord des USA qu'au sud, le hockey sur glace est considéré comme étant le sport le plus violent aux USA.
Le ultimate frisbee a fait sont apparition il y a quelques années aux USA. Il y a plusieurs façons d'y jouer : en équipe, où il faut tenter de lancer le frisbee dans un but, ou sur un parcours, avec des bases où envoye
ศัพท์จร้า
1.typique ++ เป็นแบบอย่าง / ตามชนิด
2.tenter++ ทดลอง /ล่อลวง /พยายาม
3.frise++ ฉากท้องฟ้าในโรงละคร
4.retenu++การยึดเหนี่ยว /ยับยั้งไว้
5.fut++ ขนาดใหญ่
วันศุกร์ที่ 11 มกราคม พ.ศ. 2551
Le verger a subi les al้as de la vie.Une fois abandonn้, puis remis en ้tat sans piti้... Ces deux ้v่nements dans son histoire ont aboutis เ une d้gradation rapide de l'้tat des pommiers. Le tout coupl้ avec une absence prolong้e de prise en compte ou de gestion des param่tres environnementaux...Il y a eu donc une diminution des moyens et des effectifs du Service des espaces verts... Mais cette tendance a ้t้ invers้e depuis ses trois derni่res ann้es, sous l'impulsion du Doyen et des naturalistes !Et c'est alors que le Verger a obtenu une valeur p้dagogique !En effet, les pommiers sont devenus cobayes (d้sign้s volontaires !) de travaux pratiques dans le cadre des fili่res de formations universitaires. Puis il s'est impos้ comme un vecteur de communication important des activit้s du jardin botanique aupr่s du grand public...
LA POMME ?!
La pomme est devenue un ้l้ment vital dans la vie et je vous encourage เ aller ICI un site tr่s bien fait o๙ vous saurez enfin tout sur ce fruit fondateur
วันจันทร์ที่ 7 มกราคม พ.ศ. 2551
Sur la Terre, l'eau se trouve répartie entre quatre grands réservoirs : les mers et océans, les eaux continentales (superficielles et souterraines), l’atmosphère, et la matière vivante.
Les échanges d’eau entre ces réservoirs sont et forment ce que l’on appelle le cycle externe de l’eau. Les masses d’eau sont maintenues constamment en mouvements entre ces réservoirs à l’action de puissants moteurs : le soleil qui active la circulation d’eau dans l’atmosphère (forme de vapeur d’eau) et la pesanteur qui régit la circulation d’eau terrestre (écoulements superficiels et souterrains).
La plus grande partie de l’eau qui tombe en pluie provient de la mer. Les du soleil réchauffent l’eau sur la terre et les mers et la vaporisent. En s’élevant cette vapeur d’eau se et s’accumule pour former les nuages. Un nuage chargé d’eau tombe sous forme de pluie. Une fois au sol, l’eau s’écoule vers la mer sous l’effet de la pesanteur.
On considère que le cycle de l’eau est stationnaire c’est à dire que toute perte d’eau par l’une ou l’autre de ses parties, atmosphérique ou terrestre, est compensée par un gain d’eau par l’autre partie.
suffisamment ++ อย่างพอเพียง
permanents ++ ถาวร
1. แทนคำนามที่นำหน้าด้วยสำนวนบอกจำนวนหรือปริมาณ :
1.1 แทนคำนามที่นำหน้าด้วย คำนำหน้านามที่ไม่เจาะจง (article indéfini) : un, une, des :
- Ronald mange un gâteau. Il en mange un.
- Fabrice mange une tarte aux pommes. Il en mange une.
- Nathalie mange des fruits. Elle en mange.
1.2 แทนคำนามที่นำหน้าด้วย คำนำหน้านามที่มีความหมาย "บางส่วน" (article partitif) : du, de la, de l' :
- Carole boit du lait. Elle en boit.
- Odette boit de la bière. Elle en boit.
- Catherine boit de l' eau. Elle en boit.
1.3 แทนคำนามที่ระบุจำนวนหรือปริมาณ [ปริมาณที่ระบุจะอยู่ท้ายประโยค]
- Il y a soixante étudiants dans vette classe ? Oui, il y en a soixante.
- Tu as beaucoup de travail ? Oui, j' en ai beaucoup.
- Est-ce qu'ils ont des enfants ? Oui, ils en ont un.
Non, ils n' en ont pas.
[ ในประโยคปฏิเสธจะไม่มี "un, une หรือ des" ลงท้าย ]
2. แทนที่คำนามที่เป็นสิ่งของนำหน้าด้วยบุพบท "de" หรือโครงสร้างกริยาหรือคุณศัพท์ "de" ประกอบ :
- Est-ce qu' il parle de son problème ? Oui, il en parle.
- Est-ce que tu es content de ton travail ? Oui, j' en suis content.
- Est-ce que tu te souviens de ce qu' il a dit ? Oui, je m' en souviens très bien.
สำหรับคำนามที่เป็นบุคคล ใช้ "de" ตามด้วย สรรพนามที่ใช้ตามหลังบุพบท (pronom tonique)
- Tu parle de ton professeur ? Oui, je parle de lui.
- Vous vous souvenez de cette élève qui était très timide et qui aimait rester dans son coin ?
Ah oui, je me souviens très bien d' elle.
สำนวนบางสำนวนที่ใช้กับ "en"
- Bon, je m' en vais ! Au revoir. A demain. (เอาล่ะ ! ฉันไปล่ะ ลาก่อน แล้วพบกันพรุ่งนี้)
- Je ne supporte plus cette vie. J' en ai assez ! [J' en ai marre !] (ฉันทนสภาพชีวิตแบบนี้ไม่ไหวแล้ว ฉันเบื่อ !)
- Je suis fatigué, je n' en peux plus ! (ฉันเหนื่อย ฉันไม่ไหวแล้ว !)
- Ce n' est pas grave, ne t' en fais pas ! (ไม่หนักหนาอะไรหรอก ไม่ต้องกังวลหรอก !)
ตำแหน่ง (place) : เช่นเดียวกับสรรพนามอื่นๆ "en" จะวางไว้หน้าคำกริยา :
- Je bois du café. J' en bois.
ยกเว้น ในประโยคคำสั่งบอกเล่า "en" จะวางไว้หลังกริยา :
- Prends encore du pain. Prends-en encore.
ระวัง : - Mange du riz. Manges-en. [คืน "s" ให้กับรูปคำสั่งบุรุษที่ 2 เอกพจน์ที่เคยตัดออกไป
เหตุผลเพียงเพื่อความไพเราะในการออกเสียง
วันศุกร์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2551
โดย โพสต์ทูเดย์
วัน พฤหัสบดี ที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2551 14:49 น.
ประธานาธิบดีฝรั่งเศส ส่งสาส์นไว้อาลัย "สมเด็จพระพี่นางฯ" ระบุ รู้สึกเศร้าโศกและสะเทือนใจอย่างยิ่ง ขณะที่ประชาชนยังคงหลั่งไหลถวายสักการะพระศพล้น ศาลาสหทัยสมาคม นายธฤต จรุงวัฒน์ อธิบดีกรมสารนิเทศ กระทรวงการต่างประเทศ กล่าวว่า นายนิโกลาส์ ซาร์โกซี ประธานาธิบดีของฝรั่งเศสได้มีสารกราบบังคมทูลพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว แสดงความไว้อาลัยอย่างสุดซึ้งต่อการสิ้นพระชนม์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนาฯ โดยเนื้อความในสารระบุว่า ข้าพระพุทธเจ้ารู้สึกโสกเศร้าและสะเทือนใจอย่างยิ่ง ในนามของรัฐบาลฝรั่งเศส และประชาชนฝรั่งเศสขอแสดงความเสียแด่ใต้ฝ่าละอองธุลีพระบาทด้วยความจริงใจและขอเป็นกำลังใจให้แก่พระบรมวงศานุวงศ์รวมถึงประชาชนชาวไทยในช่วงโศกเศร้าอาดูรดังกล่าวประเทศฝรั่งเศสจะไม่ลืมบทบาทที่สำคัญยิ่งของพระองค์ ในการเผยแพร่ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสในประเทศไทย เช่นเดียวกับที่ได้ทรงอุทิศพระองค์ เพื่อช่วยเหลือด้านการแพทย์ การศึกษาและด้านวัฒนธรรมแก่ผู้ด้อยโอกาส พระองค์ทรงแสดงแบบอย่างให้เห็นถึงกำลังใจที่มุ่งมั่นและกล้าหาญ ขันติธรรม และความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ตลอดช่วงที่ทรงมีพระชนมชีพอยู่ ข้าพระพุทธเจ้าขอแสดงความเสียใจอีกครั้งหนึ่ง ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้ากระหม่อมขณะที่ พสกนิกรทั่วทุกสารทิศพร้อมใจกันสวมชุดดำไว้ทุกข์ ต่างหลั่งไหลเดินทางมาร่วมถวายสักการะพระศพ ต่อหน้าพระฉายาลักษณ์ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ณ ศาลาสหทัยสมาคม ในพระบรมมหาราชวัง จำนวนมากขึ้นเรื่อยๆ จนเริ่มที่จะล้นออกมาด้านนอกบริเวณศาลาสหทัยสมาคมแล้วด้านกระทรวงวัฒนธรรม ได้จัดพิมพ์หนังสือเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ จำนวน 500,000 เล่ม เพื่อแจกจ่ายให้กับประชาชนที่มาร่วมถวายสักการะด้วย
ประเทศฝรั่งเศสจะไม่ลืมบทบาทที่สำคัญยิ่งของพระองค์ ในการเผยแพร่ภาษาและวัฒนธรรมฝรั่งเศสในประเทศไทย เช่นเดียวกับที่ได้ทรงอุทิศพระองค์ เพื่อช่วยเหลือด้านการแพทย์ การศึกษาและด้านวัฒนธรรมแก่ผู้ด้อยโอกาส พระองค์ทรงแสดงแบบอย่างให้เห็นถึงกำลังใจที่มุ่งมั่นและกล้าหาญ ขันติธรรม และความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ตลอดช่วงที่ทรงมีพระชนมชีพอยู่ ข้าพระพุทธเจ้าขอแสดงความเสียใจอีกครั้งหนึ่ง ควรมิควรแล้วแต่จะทรงพระกรุณาโปรดเกล้ากระหม่อม
- décider = (v.) / décision (n.f.) = [prendre une décision = ตัดสินใจ] / décidé (adj.) = 1. ที่รู้ว่าตนเองต้องการอะไร, แน่วแน่ / 2. ที่ตัดสินใจแล้ว, ที่ไม่เปลี่ยนแปลงแล้ว # indécis = ที่ลังเล, ที่ยังตัดสินใจไม่ได้, ที่ยังไม่แน่นอน / décidemment (adv.) = อย่างเด็ดขาด, อย่างแน่วแน่
- expédition (n.f.) = การเดินทาง(ไปกระทำการบางอย่าง), การส่ง / expédier (v.) = ส่งไป / expéditeur (n.m.) = ผู้ส่ง
- décevoir (v.) [être déçu = รู้สึกผิดหวัง : ] = / déception (n.f.) = ความผิดหวัง
- genre (n.m.) = ชนิด, ประเภท
- essentiel (adj.) = สำคัญ
- sembler (v.) = ดูเหมือนว่า
- espace (n.m.) = อวกาศ, ที่(ว่าง)
- considérer (v.) = ถือเอา, ใช้ดุลยพินิจ, คำนึง
- davantage (adv.) = มากกว่า, มากขึ้นอีก
- prouver (v.) = พิสูจน์
- deviner (v.) = เดา
- évolution (n.f.) = การเปลี่ยนแปลง
- adapter (v.) = ปรับให้เข้ากับ / s' adapter = ปรับตัว
- pourtant (adv.) = อย่างไรก็ตาม
- douceur (n.f.) = ความอ่อนหวาน หรือความอ่อนโยน
- nid (n.m.) = รัง
- clip (n.m.) = มิวสิควีดิโอ
- allonger (v.) = ทำให้เหยียดยาวออกไป / s' allonger = เหยียดกาย, เอนกาย
- aventurier (adj. et n.m.) = นักผจญภัย, ที่เกี่ยวกับการผจญภัย
- traverser (v.) = ข้าม, ก้าวข้าม
- s' orienter (v.) = หาทิศทางที่จะไป, กำหนดทิศทาง
- nourriture (n.f.) = อาหาร
- solitaire (adj. et n.) = โดดเดี่ยว, ตามลำพัง
- goûter (à) (v.) = ลิ้มลอง, สัมผัส, ชิม
วันพฤหัสบดีที่ 3 มกราคม พ.ศ. 2551
Paris is small: no corner is farther than six miles from the square in front of Notre-Dame Cathedral. The city has a total area of 41 square miles (105 square kilometres), if the two big parks at either extremity are included, and 34 square miles without them. The city occupies a bowl hollowed out by the Seine in its prehistoric vigour, and the surrounding heights have been respected as the limits of the city. The river arches through the center of town, visiting 10 of the 20 arrondissements. Entering the city at the southeast corner, it arcs northward and bends out of Paris at the southwest corner. As a result, what starts out as the streams east bank becomes its north bank and ends as the west bank, and the Parisians therefore adopted the simple, unchanging designation of Right and Left Bank (when facing downstream). These terms are not much used in conversation, as specific places are usually indicated by arrondissement (e.g., quinzi่me) or by quartier (e.g., Observatoire).
At water level, some 30 feet below street level, the river is bordered--at least on those portions not transformed into expressways--by cobbled quays graced with trees and shrubs. From street level another line of trees leans towards the water. Between the two levels, the retaining walls, usually made of massive stone blocks, are decorated with the great iron rings of a past ages commerce and sometimes pierced by mysterious openings (water gates for old palaces or inspection ports for subways, sewers and underpasses). Here and there the wall is shawled in ivy.
The old buildings, the riverboats, the changes of colour reflected by the water, the gardens, and the 32 bridges (many of them handsome) compose one of the worlds grandest, yet most endearing cityscapes. Along the river are two of the great set pieces of urban spectacle in the contemporary world. The first sweeps down from the Palais de Chaillot on the Right Bank, crosses the river to the Eiffel Tower, and continues through the gardens of the Champ-de-Mars to the 18th-century Ecole Militaire; the other begins at the Seine and marches up a broad esplanade to the golden dome of the Invalides.
1. ปี 2553 ทปอ. จะใช้องค์ประกอบต่อไปนี้ในการยื่น คะแนนเข้ามหาวิทยาลัย 1) GPAX 6 ภาคเรียน 20 %
2) O-NET (8 กลุ่มสาระ) 30 %
3) GAT 10-50 %
4) PAT 0-40 %
รวม 100 %
หมายเหตุ
1. GPAX คือ ผลการเรียนเฉลี่ย สะสม 6 ภาคเรียนทุกกลุ่มสาระการเรียน รู้
2. GAT คือ General Aptitude Test ความถนัดทั่วไป
3. PAT คือ Professional Aptitude Test ความถนัดเฉพาะ วิชาชีพ
2.รายละเอียดเกี่ยว กับ GAT
1. เนื้อหา
- การอ่าน เขียน คิดวิเคราะห์และการแก้โจทย์ ปัญหา(ทาง คณิตศาสตร์) 50%
- การสื่อสารด้วยภาษา อังกฤษ 50%
2. ลักษณะข้อสอบ GAT จะเป็นปรนัย และอัตนัย
- คะแนนเต็ม 200 คะแนน เวลาสอบ 2 ชั่วโมง
- ข้อสอบ เน้น Content Free และ Fair
- เน้นความซับ ซ้อน (Complexity) มากกว่า ความยาก
- มีการออกข้อสอบเก็บไว้เป็นคลังข้อ สอบ
3. จัดสอบปีละหลายครั้ง
- คะแนนใช้ได้ 2 ปี เลือกใช้คะแนนที่ดีที่สุด (จะสอบ ตั้งแต่ม. 4 ก็ได้)
3. รายละเอียดเกี่ยว กับ PAT
1. PAT มี 6 ชุด คือ
PAT 1 วัดศักยภาพทางคณิตศาสตร์
เนื้อหา เช่น Algebra, Probability and Statistics, Conversion,Geometry, Trigonometry,Calculus ฯลฯ
ลักษณะข้อสอบ Perceptual Ability, Calculation skills, Quantitative Reasoning, Math Reading Skills
PAT 2 วัดศักยภาพทางวิทยาศาสตร์
เนื้อหา ชีววิทยา, เคมี, ฟิสิกส์, Earth Sciences, environment, ICT ฯลฯ
ลักษณะข้อสอบ Perceptual Ability, Sciences Reading Ability,Science Problem Solving Ability ฯลฯ
PAT 3 วัดศักยภาพทางวิศวกรรม ศาสตร์
เนื้อหา เช่น Engineering Mathematics, EngineeringSciences,Life Sciences, IT ฯลฯ
ลักษณะข้อสอบ Engineering Aptitude i.e. Multidimensional Perceptual Ability, Calculation Skills, Engineering Reading Ability, Engineering Problem Solving Ability
PAT 4 วัดศักยภาพทางสถาปัตยกรรมศาสตร์
เนื้อหา เช่น Architectural Math and Science ฯลฯ
ลักษณะข้อสอบ Space Relations, Multidimensional Perceptual Ability, Architectural Problem Solving Ability ฯลฯ
PAT 5 วัดศักยภาพทาง ครุศาสตร์/ ศึกษาศาสตร์
เนื้อหา ความรู้ในเนื้อหาภาษา ไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม วิทยา มานุษยวิทยา สุขศึกษา ศิลปะ สิ่งแวดล้อม ฯลฯ
ลักษณะข้อสอบ ครุ ศึกษา (Pedagogy), ทักษะการอ่าน (Reading Skills),ความรู้ทั่วไปเกี่ยว กับการศึกษาของประเทศไทย การแก้ปัญหาที่เกิดจากนัก เรียน ครู ผู้บริหารโรงเรียน ฯลฯ
PAT 6 วัดศักยภาพทางศิลปกรรมศาสตร์
เนื้อหา เช่น ทฤษฎีศิลปะ (ทัศนศิลป์ ดนตรี นาฏศิลป์) ความรู้ทั่วไปทาง ศิลป์ ฯลฯ
ลักษณะข้อสอบ ความคิดสร้าง สรรค์ ฯลฯ
2. ลักษณะข้อสอบ PAT จะเป็นปรนัย และอัตนัย
- คะแนนเต็มชุดละ 200 คะแนน เวลาสอบชุดละ 2 ชั่วโมง
- เน้นความซับ ซ้อน (Complexity) มากกว่า ความยาก
- มีการออกข้อสอบเก็บไว้ในคลังข้อ สอบ
3. จัดสอบเมื่อนักเรียนอยู่ชั้น ม.6 โดยจัดสอบปีละ 2 ครั้ง
- คะแนนใช้ได้ 2 ปี เลือกใช้คะแนนที่ดีที่ สุด