วันพุธที่ 19 มีนาคม พ.ศ. 2551


อ่ะ ๆๆ หายไปนานมักๆๆ ตอนนี้ เก็บตัวเตรียมไปนอก โฮ๊ะๆๆ นอกเมือง ก็เปล่าหรอก อืมมีเรียนทู้กวันเร้ย อีก 3 เดือนเท่านั้น สำหรับการลันล้า

รู้สึกใจหายยังไงไม่รู้เนอะ อืม แต่ก็น่ะ เพื่อนอนาคต

ทวีปอเมริกา (Americas) เป็นคำเรียกรวม ๆ หมายถึงทั้งทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้รวมกัน ซึ่งแก้ปัญหาความสับสนในภาษาอังกฤษของคำว่า "America" (ไม่มี s) ซึ่งอาจหมายถึงอเมริกาเหนือหรือใต้ก็ได้ ในบางครั้งผู้เรียกยังอาจหมายถึงประเทศชื่อสหรัฐอเมริกาด้วย
ทวีปอเมริกาเป็นดินแดนที่อยู่ทางตะวันออกของมหาสมุทรแปซิฟิก และทางตะวันตกของมหาสมุทรแอตแลนติก โดยอาจแบ่งย่อยได้เป็น 3 ส่วน คือ อเมริกาเหนือ อเมริกากลาง และอเมริกาใต้. คำว่า "อเมริกา" ในที่นี้ยังรวมถึงหมู่เกาะแคริบเบียน และเกาะกรีนแลนด์ (แต่ไม่รวมประเทศไอซ์แลนด์) บริเวณคอคอดของอเมริกากลางมักถูกนำไปรวมกับอเมริกาเหนือ
คำว่า "อเมริกา" มีที่มาที่เก่าแก่ที่สุดที่สามารถหาหลักฐานได้คือ พ.ศ. 2050 โดยนักเขียนแผนที่ชาวเยอรมันชื่อ Martin Waldseemüller ได้ใส่คำว่า America ลงในแผนที่โลกของเขา และอธิบายว่าชื่อนี้นำมาจากชื่อภาษาละตินของนักสำรวจ อเมริโก เวสปุชชี (Amerigo Vespucci) ซึ่งเขียนเป็นภาษาละตินได้ว่า Americus Vespucius และแปลงเป็นเพศหญิงได้เป็นคำว่า America (ในภาษาที่มีเพศอย่างภาษาละติน ทวีปจัดว่าเป็นเพศหญิง) ส่วน คริสโตเฟอร์ โคลัมบัส ซึ่งเป็นผู้พบทวีปอเมริกาเป็นคนแรก เสียชีวิตก่อนใน พ.ศ. 2049 โดยที่ยังเข้าใจว่าเขาค้นพบทวีปเอเซียบริเวณประเทศอินเดีย ซึ่งในความเป็นจริงแล้วผู้ที่พบอเมริกาเป็นคนแรกคือชาวไวกิ้ง ชื่อ Leif Ericsons
Origine du nom [modifier]

Carte politique de l'Amérique.
La plus ancienne mention connue du nom « Amérique » remonte à l'année 1507. Il apparaît sur une mappemonde dessinée par le cartographe Martin Waldseemüller au sein du Gymnase vosgien de Saint-Dié-des-Vosges, une assemblée réunie autour du chanoine Vautrin Lud. Le livre Cosmographiae Introductio explique que le mot vient d'une déformation latine du nom du navigateur Amerigo Vespucci, Americus Vespucius, l'un des pionniers de l'exploration du « Nouveau Monde » par les européens, (nous ne parlons plus de 'découverte' dans la mesure où des hommes se trouvaient sur ce continent à l'arrivée des européens, ce qui signifie que l'Homme y était parvenu bien auparavant). Amerigo Vespucci a atteint le continent en juillet 1497, certain d'arriver sur une terre inconnue des anciens, tandis que Christophe Colomb le fit en avril 1492 en croyant qu'il venait de découvrir les côtes occidentales des Indes. Le prénom italien Amerigo vient lui-même du germanique Haimirich.
Depuis 1992, des nations indigènes proposent de remplacer le nom choisi par les Européens par Abya Yala qui signifie la terre dans sa pleine maturité, en aymara, une langue inca[1].

1 ความคิดเห็น:

ไม่ระบุชื่อ กล่าวว่า...

Hello. This post is likeable, and your blog is very interesting, congratulations :-). I will add in my blogroll =). If possible gives a last there on my blog, it is about the Câmera Digital, I hope you enjoy. The address is http://camera-fotografica-digital.blogspot.com. A hug.